วันนี้ได้คุยกับเพื่อนสองท่านที่ยังเล่นพระเก๊อยู่
เล่นมานาน แต่ก็ยังไม่เบื่อ
ท่านหนึ่งเล่นมาสองปี ท่านหนึ่ง ยี่สิบปี
แต่ก็ยังเล่นพระเก๊ตาเปล่า ไม่ขยับไปไหน
ก็เลยลองสอบถามและประมวลดู ว่าสาเหตุมีอะไรบ้าง
ก็สรุปได้ ดังนี้
1. ไม่มีครูสอน ที่เจอบ้าง ก็มีแต่พาหลงทาง
2. ไม่มีตำราที่ดี พึ่งตำราพระเก๊ พระมีใบรับรอง (ที่เป็นพระเก๊) และระบบเนต ที่มีแต่พระเก๊นำทาง
3. ไม่มีต้วอย่าง ได้มาแต่พระเก๊ เริ่มศึกษาจากพระเก๊
4. ไม่มีเพื่อนเล่นพระแท้ เพราะที่มี ก็เล่นกันแต่พระเก๊
5. ของแท้ราคาแพง ไม่แน่ใจ ไม่กล้าเสี่ยง เลยวนเวียนเล่นแต่พระเก๊
6. ของแท้หายาก ไม่เคยเห็น ไม่รู้จัก ไม่ทราบจะหาที่ไหน
7. ของเก๊เกลื่อนในทุกระบบ ออกมาใหม่ๆ ทุกวัน เฉพาะตามพระเก๊ก็ยังตามไม่ทัน
8. ของเก๊ฝีมือจัดมีมาก พัฒนาจนคนเล่นตามไม่ทัน
9. ไม่มีเวลาเดินตลาด ศึกษาระบบตลาดพระ เพราะระบบชีวิตและงานรัดตัว
10. อยู่ในพื้นที่ที่หาพระแท้ได้ยาก แต่ก็ยังอยากจะเล่นพระอยู่
เท่าที่ประเมิน ก็ได้ประมาณนี้ครับ
ทราบดั่งนี้ ก็เลยแนะนำให้เลิกเล่นไปจะดีกว่า
หรือไม่ก็มาเรียนกับผมสักสองชั่วโมง จะแก้ปัญหาได้ทั้งสิบข้อทันที
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
5 เทคนิคในการ "โจมตี" รังพระ
เท่าที่ติดตามศึกษาระบบการหาพระของ "สายเดินพระ" ในตลาดขอนแก่น
จะมีอย่างน้อย 5 รูปแบบ เช่น
1. การไปขอแบ่งบางองค์
2. การเหมายกบ้าน ยกชุด
3. การแลกบางกลุ่ม บางองค์ บางชุด
ที่จะทำให้ต้นทุนต่ำที่สุด ด้วยเทคนิคการโยกย้ายถ่ายเทหน้าพระของเขาเอง
แต่สิ่งที่ สายเดินพระจะหลีกเลี่ยงก็คือ
4. การเช่า หรือ การซื้อออกมาเลย
ที่จะทำให้ต้นทุนสูง
5. แต่ถ้ามีใบสั่ง เขาอาจจะ "ขอยืม" ออกมา หรือในวงการเรียก "เก้อ" ออกมา
(มาจากคำว่า ไทเก้อ แปลว่า จับเสือมือเปล่า)
ถ้ามีคนรับซื้อเขาก็จะได้ส่วนแบ่งทั้งสองขา ทั้งจากผู้ซื้อและผู้ขาย
ที่ผู้ซื้อต้องรับภาระค่อนข้างสูง
ราคาพระก็จะแปรปรวน ดั่งนี้แล
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
จะมีอย่างน้อย 5 รูปแบบ เช่น
1. การไปขอแบ่งบางองค์
2. การเหมายกบ้าน ยกชุด
3. การแลกบางกลุ่ม บางองค์ บางชุด
ที่จะทำให้ต้นทุนต่ำที่สุด ด้วยเทคนิคการโยกย้ายถ่ายเทหน้าพระของเขาเอง
แต่สิ่งที่ สายเดินพระจะหลีกเลี่ยงก็คือ
4. การเช่า หรือ การซื้อออกมาเลย
ที่จะทำให้ต้นทุนสูง
5. แต่ถ้ามีใบสั่ง เขาอาจจะ "ขอยืม" ออกมา หรือในวงการเรียก "เก้อ" ออกมา
(มาจากคำว่า ไทเก้อ แปลว่า จับเสือมือเปล่า)
ถ้ามีคนรับซื้อเขาก็จะได้ส่วนแบ่งทั้งสองขา ทั้งจากผู้ซื้อและผู้ขาย
ที่ผู้ซื้อต้องรับภาระค่อนข้างสูง
ราคาพระก็จะแปรปรวน ดั่งนี้แล
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน กลุ่มการดูพระแท้ ทางไลน์ 4 กรกฎาคม 2557
เมื่อคืนดูเหมือนจะไม่ค่อยมีใครว่าง ก็เลยสอนแบบตอบถามอยู่สองประเด็นเล็กๆ
ประเด็นแรก คือเส้นใยแมงมุมในพระสนิมแดง ที่ไม่ทราบเจตนาของผู้บัญญัติศัพท์นี้
แต่จากการตีความน่าจะมีอย่างน้อยสองแบบด้วยกันคือ
1.เป็นการงอกของสนิมใหม่ตามรอยแตกปริของสนิมเก่า เป็นเส้นเล็กๆฝอยๆ ที่จะมี เฉพาะในกรณีที่มีสนิมเก่าเป็นแผ่นป้องกันรอบนอก เมื่อมีแรงดันจากภายในก็จะปริแยก แล้วสนิมใหม่ก็งอกออกมาตามนั้น เป็นเส้นเล็กๆ หรือ
2.เป็นการงอกของสนิมที่ผิว เป็นเส้นเล็กๆ ฉ่ำๆ จะชัดเจนเมื่อส่องสะท้อนกับแสงสว่างจัดๆ เช่น แสงอาทิตย์
ในกรณีแรกจะพบทั้งในพระเนื้อสนิมแดง และเนื้อผง บางองค์ บางเนื้อ ตามเงื่อนไข
ในกรณีที่สองจะพบเฉพาะพระเนื้อสนิมแดงเท่านั้น
แต่ทั้งสองกรณีก็ยังไม่ใช่จุดฟันธงแท้-เก๊ เพียงแต่ทำให้เป็นพระแท้ดูง่ายเท่านั้น ถ้าไม่มีก็ยังเป็นพระแท้ดูยากเท่านั้นเอง
ประเด็นที่สอง ผมเปิดประเด็นการดูเนื้อชินเขียวแบบชัดๆ
ก็คือการดูสนิมหลากหลายในเนื้อ จนดูเป็นเนื้อลายหินอ่อน มีสนิมไข ออกฉ่ำๆนวลๆ กลมกลืนอยู่ในเนื้อแบบไม่แยกชั้น
ที่เป็นการดูชินเขียวที่ผมเคยแนะนำไปแล้ว แต่นำมาขยายความเพิ่ม เพื่อความชัดเจนของการดูแท้เก๊ อีกครั้งหนึ่ง
จึงเป็นการสอนสั้นๆ ง่ายๆ แบบตามความความสนใจ ไม่มีกรอบการสอนที่กำหนดไว้
แต่ใช้แบบสอบถามความเข้าใจเท่านั้น
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
ประเด็นแรก คือเส้นใยแมงมุมในพระสนิมแดง ที่ไม่ทราบเจตนาของผู้บัญญัติศัพท์นี้
แต่จากการตีความน่าจะมีอย่างน้อยสองแบบด้วยกันคือ
1.เป็นการงอกของสนิมใหม่ตามรอยแตกปริของสนิมเก่า เป็นเส้นเล็กๆฝอยๆ ที่จะมี เฉพาะในกรณีที่มีสนิมเก่าเป็นแผ่นป้องกันรอบนอก เมื่อมีแรงดันจากภายในก็จะปริแยก แล้วสนิมใหม่ก็งอกออกมาตามนั้น เป็นเส้นเล็กๆ หรือ
2.เป็นการงอกของสนิมที่ผิว เป็นเส้นเล็กๆ ฉ่ำๆ จะชัดเจนเมื่อส่องสะท้อนกับแสงสว่างจัดๆ เช่น แสงอาทิตย์
ในกรณีแรกจะพบทั้งในพระเนื้อสนิมแดง และเนื้อผง บางองค์ บางเนื้อ ตามเงื่อนไข
ในกรณีที่สองจะพบเฉพาะพระเนื้อสนิมแดงเท่านั้น
แต่ทั้งสองกรณีก็ยังไม่ใช่จุดฟันธงแท้-เก๊ เพียงแต่ทำให้เป็นพระแท้ดูง่ายเท่านั้น ถ้าไม่มีก็ยังเป็นพระแท้ดูยากเท่านั้นเอง
ประเด็นที่สอง ผมเปิดประเด็นการดูเนื้อชินเขียวแบบชัดๆ
ก็คือการดูสนิมหลากหลายในเนื้อ จนดูเป็นเนื้อลายหินอ่อน มีสนิมไข ออกฉ่ำๆนวลๆ กลมกลืนอยู่ในเนื้อแบบไม่แยกชั้น
ที่เป็นการดูชินเขียวที่ผมเคยแนะนำไปแล้ว แต่นำมาขยายความเพิ่ม เพื่อความชัดเจนของการดูแท้เก๊ อีกครั้งหนึ่ง
จึงเป็นการสอนสั้นๆ ง่ายๆ แบบตามความความสนใจ ไม่มีกรอบการสอนที่กำหนดไว้
แต่ใช้แบบสอบถามความเข้าใจเท่านั้น
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน การดูพระแท้ ทางไลน์ 5 กค 57
มื่อคืนตั้งใจจะเริ่มเร็วและเลิกเร็ว เพราะไปทำนาทั้งวัน ทำท่าจะง่วงนำทางมาเลย
ขนาดวันนี้ หลบไปทำนา ก็ยังมีคนตามเอาพระกรุบ้านกร่างไปให้อีก 2 องค์ สงสัยพระกรุนี้ ทั้งขอนแก่นจะมีผมเล่นคนเดียว หรือทั้งอีสานก็ไม่แน่ใจ องค์ที่ได้เมื่อวานนี้เม็ดทรายลอยสวยมาก ทำให้ดูง่ายมากๆ
เม็ดทรายลอย ดูง่าย และทำยากที่สุด เพราะ เม็ดทรายมน เหี่ยว และลอยทุกเม็ดจะทำได้ยังไง
ในเนื้อผงก็มี แต่ในเนื้อผงจะผ่านการร่อนแยกขนาด และเม็ดทรายจะจม ถ้าเม็ดโตๆมักจะเก๊
แม้ พระ ลพ ปานก็แยกขนาดเม็ดทราย โตก็เก๊เหมือนกัน ระดับที่ว่าเห็นเป็นเม็ดเมื่อไหร่ก็เก๊เลยครับ
ในกรณี พระดินดิบ ลพ ปาน ให้ดูความเก่าของปูนปิดรูผงยา ก็เหมือนกับการดูเนื้อผงเก่า ถ้าปูนไม่เก่าก็เก๊ชัวร์
ตามหลัก 3+ เลยครับ อาจได้ถึง 3+1 แต่ยังไม่ถึง 3+2
และ เนื้อดินต้องเห็นน้ำว่านงอก ตามหลักที่สอง ที่ว่า ในความนวลมีความฉ่ำ ในความฉ่ำมีความนวล และมีสีเหลืองๆของน้ำว่านหรือตังอิ้วอยู่ด้วย ลดปัญหาการปริแตก
เริ่มคุยจากเนื้อดินหลุดมาเนื้อผงซะแล้ว เลยมีคำถามว่า พระสมเด็จมีกลิ่นหอมๆไหม ที่เป็นไปได้ ถ้าพระแก่น้ำว่าน
ถ้าแก่ตังอิ้ว จะเหม็นหืน ถ้าแก่ปูน อย่างมากก็มีกลิ่นอับๆ การดมกลิ่นช่วยได้สำหรับคนจมูกดีครับ
พระใหม่ๆมักจะมีกลิ่นสารเคมี กลิ่นกาว กลิ่นน้ำยา กลิ่นพลาสติก
ต่อจากนั้น ก็มีคนสงสัยว่ากลิ่นจะอยู่ได้เป็นร้อยๆปีหรือ
ผมก็เลยถามเชิงอุปมาว่า ช่วยเอาปลาร้าไปล้างให้หมดกลิ่นปลาร้าได้ไหมครับ หรือเอาแก๊สไปล้างจนหมดกลิ่นแก๊สได้ไหม หรือลองสมมติว่าไปดมกลิ่นมัมมี่ 3000 ปี จะหมดกลิ่นศพไหม
คือเขาไม่ได้ใส่กลิ่น แต่กลิ่นคือส่วนประกอบของวัสดุเลย กลิ่นจะหายไปได้ยังไง ถ้ากลิ่นหมด วัสดุนั้นก็ต้องหมดแน่นอน
แล้วตังอิ้วหมดไปจากพระสมเด็จหรือยัง น้ำว่านหมดไปจากพระซุ้มกอหรือยัง
ลองไปดมพระเก๊ จะรู้เลย
ต่อจากนั้น ก็มีคำถามว่า เมื่อมวลสารร่อนแล้ว ทำไมจึงเห็นมวลสารขนาดใหญ่ โดยเฉพาะวัดระฆัง ที่มี เกสรดอกไม้ ก้านธูป ก้อนผงพุทธคุณ ที่มีก็เพราะ ผสมทีหลัง "ผงพุทธคุณ" จากเศษพระองค์ก่อนๆ ที่มีเฉพาะวัดระฆัง ที่ทำทีละครก
สมเด็จบางขุนพรหม เกศไชโยจะไม่มี เพราะทำแบบไม่เหลือ ทำทีละมากๆ ตัดเศษออกใส่คืนทันที ไม่รอให้แห้ง
และมีคำถามต่อเนื่องว่า สมเด็จวัดระฆังจะเห็นปูนสุกปูนดิบและตังอิ๊ว ค่อนข้างชัดเจน ส่วนบางขุนพรหมจะเน้นไปทางปูนสุก แต่ทั้ง 2 วัดจะเห็นการพัฒนาการงอกค่อนข้างชัดเจน ส่วนเกศไชโย มีการพัฒนางอก น้อยกว่าทั้ง 2 วัด ทั้งๆที่ระยะเวลาทำองค์พระห่างกันไม่นาน น่าจะเกิดจากอะไรครับ
ที่น่าจะมาจากส่วนประกอบต่างกัน เปลือกหอยคนละแหล่ง หรือคนละชนิด ฝีมือการเตรียมก็ต่างกัน
ของที่ทำปริมาณมากมักจะไม่ค่อยดี ตามประวัติการสร้างวัดระฆังทำทีละน้อยๆๆ จึงมักจะดี แต่ไม่สม่ำเสมอ
แต่ของที่ทำเยอะๆ จะสม่ำเสมอ แต่จะไม่ค่อยดี นี่คือที่มาของความแตกต่างที่น่าจะเป็นครับ
ประเด็นการเรียนเมื่อคืนก็ประมาณนี้ครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
ขนาดวันนี้ หลบไปทำนา ก็ยังมีคนตามเอาพระกรุบ้านกร่างไปให้อีก 2 องค์ สงสัยพระกรุนี้ ทั้งขอนแก่นจะมีผมเล่นคนเดียว หรือทั้งอีสานก็ไม่แน่ใจ องค์ที่ได้เมื่อวานนี้เม็ดทรายลอยสวยมาก ทำให้ดูง่ายมากๆ
เม็ดทรายลอย ดูง่าย และทำยากที่สุด เพราะ เม็ดทรายมน เหี่ยว และลอยทุกเม็ดจะทำได้ยังไง
ในเนื้อผงก็มี แต่ในเนื้อผงจะผ่านการร่อนแยกขนาด และเม็ดทรายจะจม ถ้าเม็ดโตๆมักจะเก๊
แม้ พระ ลพ ปานก็แยกขนาดเม็ดทราย โตก็เก๊เหมือนกัน ระดับที่ว่าเห็นเป็นเม็ดเมื่อไหร่ก็เก๊เลยครับ
ในกรณี พระดินดิบ ลพ ปาน ให้ดูความเก่าของปูนปิดรูผงยา ก็เหมือนกับการดูเนื้อผงเก่า ถ้าปูนไม่เก่าก็เก๊ชัวร์
ตามหลัก 3+ เลยครับ อาจได้ถึง 3+1 แต่ยังไม่ถึง 3+2
และ เนื้อดินต้องเห็นน้ำว่านงอก ตามหลักที่สอง ที่ว่า ในความนวลมีความฉ่ำ ในความฉ่ำมีความนวล และมีสีเหลืองๆของน้ำว่านหรือตังอิ้วอยู่ด้วย ลดปัญหาการปริแตก
เริ่มคุยจากเนื้อดินหลุดมาเนื้อผงซะแล้ว เลยมีคำถามว่า พระสมเด็จมีกลิ่นหอมๆไหม ที่เป็นไปได้ ถ้าพระแก่น้ำว่าน
ถ้าแก่ตังอิ้ว จะเหม็นหืน ถ้าแก่ปูน อย่างมากก็มีกลิ่นอับๆ การดมกลิ่นช่วยได้สำหรับคนจมูกดีครับ
พระใหม่ๆมักจะมีกลิ่นสารเคมี กลิ่นกาว กลิ่นน้ำยา กลิ่นพลาสติก
ต่อจากนั้น ก็มีคนสงสัยว่ากลิ่นจะอยู่ได้เป็นร้อยๆปีหรือ
ผมก็เลยถามเชิงอุปมาว่า ช่วยเอาปลาร้าไปล้างให้หมดกลิ่นปลาร้าได้ไหมครับ หรือเอาแก๊สไปล้างจนหมดกลิ่นแก๊สได้ไหม หรือลองสมมติว่าไปดมกลิ่นมัมมี่ 3000 ปี จะหมดกลิ่นศพไหม
คือเขาไม่ได้ใส่กลิ่น แต่กลิ่นคือส่วนประกอบของวัสดุเลย กลิ่นจะหายไปได้ยังไง ถ้ากลิ่นหมด วัสดุนั้นก็ต้องหมดแน่นอน
แล้วตังอิ้วหมดไปจากพระสมเด็จหรือยัง น้ำว่านหมดไปจากพระซุ้มกอหรือยัง
ลองไปดมพระเก๊ จะรู้เลย
ต่อจากนั้น ก็มีคำถามว่า เมื่อมวลสารร่อนแล้ว ทำไมจึงเห็นมวลสารขนาดใหญ่ โดยเฉพาะวัดระฆัง ที่มี เกสรดอกไม้ ก้านธูป ก้อนผงพุทธคุณ ที่มีก็เพราะ ผสมทีหลัง "ผงพุทธคุณ" จากเศษพระองค์ก่อนๆ ที่มีเฉพาะวัดระฆัง ที่ทำทีละครก
สมเด็จบางขุนพรหม เกศไชโยจะไม่มี เพราะทำแบบไม่เหลือ ทำทีละมากๆ ตัดเศษออกใส่คืนทันที ไม่รอให้แห้ง
และมีคำถามต่อเนื่องว่า สมเด็จวัดระฆังจะเห็นปูนสุกปูนดิบและตังอิ๊ว ค่อนข้างชัดเจน ส่วนบางขุนพรหมจะเน้นไปทางปูนสุก แต่ทั้ง 2 วัดจะเห็นการพัฒนาการงอกค่อนข้างชัดเจน ส่วนเกศไชโย มีการพัฒนางอก น้อยกว่าทั้ง 2 วัด ทั้งๆที่ระยะเวลาทำองค์พระห่างกันไม่นาน น่าจะเกิดจากอะไรครับ
ที่น่าจะมาจากส่วนประกอบต่างกัน เปลือกหอยคนละแหล่ง หรือคนละชนิด ฝีมือการเตรียมก็ต่างกัน
ของที่ทำปริมาณมากมักจะไม่ค่อยดี ตามประวัติการสร้างวัดระฆังทำทีละน้อยๆๆ จึงมักจะดี แต่ไม่สม่ำเสมอ
แต่ของที่ทำเยอะๆ จะสม่ำเสมอ แต่จะไม่ค่อยดี นี่คือที่มาของความแตกต่างที่น่าจะเป็นครับ
ประเด็นการเรียนเมื่อคืนก็ประมาณนี้ครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน การดูพระแท้ ทางไลน์ 6 กค57
วันนี้ผมมีกิจต้องเดินทางไปงานแต่งลูกชายของเพื่อนที่อุดรธานี
แต่ก็เปิดช่องให้นักเรียนเข้ามาฝากคำถามไว้ในไลน์
ขณะอยู่ในงานเลี้ยง ผมก็แอบดูเป็นระยะ เผื่อจำเป็นจะต้องตอบคำถามแบบทันท่วงที
แต่ก็ไม่มีอะไรด่วนมาก มีเพียงคำถามเรื่องการดูรูปหล่อ ลพ ทวด 2505 ว่ามีหลักอะไรบ้าง
ด้วยความที่ผมยังไม่ได้เตรียมวัสดุการสอนไว้ในโนท ผมเลยตอบได้เฉพาะหลักการ ว่า.......
ให้ดูเนื้อเก่าลึก สนิมลึก ผิวนุ่ม ไม่มีความคม พิมพ์คมชัด มีผิวไฟ มีคราบขี้เบ้าแน่น เนียน ฯลฯ
ลักษณะสนิมลึกนั้น รวมสนิมน้ำหมากและสนิมหยก ที่ถ้าจะให้ชัดต้องมาดูของจริง รูปจะถ่ายไม่ค่อยชัด โดยเฉพาะท่านที่ยังดูรูปไม่เป็น
จึงขอแนะนำให้ดูที่บ้าน หรือถ้าดูรูปเป็น ดูในเฟสก็ได้ แต่จะสู้ส่ององค์จริงไม่ได้ครับ
พอมาถึงบ้านก็รีบถามว่า.... ใครยังรอถามอะไรไหมครับ
สำหรับเนื้อ ลพ ทวด จะจัดสอนให้หลังจากประเมินความต้องการของนักเรียนมากพอ ที่ตอนนี้ ผมก็มีไม่มาก สักสิบองค์ได้ ติดมากับพระเหมา ไม่ได้ตั้งใจหยิบ
เรื่อง ลพ ทวด เรียนเดี่ยวๆง่ายกว่า เพราะคนสนใจน้อยครับ ในกลุ่มเรียนเดิม มีคนสนใจไม่เกินสามคน และไม่ค่อยเต็มที่เท่าไหร่ครับ แต่คนกลุ่มนี้จำนวนหนึ่งหลุดไปเล่นเหรียญไปเลย เขาว่าเล่นง่าย แต่ผมว่าเล่นยาก มูลค่าเพิ่มก็น้อย ผมเลยไม่เล่นครับ เท่าที่ผมตามดูนะครับ เหรียญแท้ยาก เก๊ง่าย ตรงกันข้ามกับ ดิน ชิน ผง แท้ง่าย เก๊ยาก กว่ากันเยอะเลย
ในระหว่างนั้น ก็มีคำถามว่า ขี้เบ้า คือ อะไร
ที่แสดงว่าคนถามมาผิดสายแน่ๆ เพราะเป็นคำเรียกพื้นฐานมากๆ สำหรบสายที่เล่น “รูปหล่อ”
ขี้เบ้า ก็แค่เศษวัสดุไหม้ติดกับเนื้อพระ
ที่แสดงว่าท่านถามข้ามชุดความรู้กัน
ถ้าท่านที่เล่นพระรูปหล่อค่อยมาสนใจ ท่านเล่นพระกรุ อย่าถามเลยครับ คนละชุดความรู้กัน ตอบไปก็เข้าใจยากครับ
แค่คำถามผมก็รู้แล้วว่า ท่านผู้ถามไม่เล่นพระรูปหล่อ
ย้อนกลับมาวิเคราะห์สาเหตุที่ไม่ค่อยมีคำถามจากนักเรียนนั้น ผมเดาว่า ยังไม่ค่อยเดินตลาดกัน คนที่เดินตลาดบ่อยๆ คำถามคงจะเยอะแน่ๆ
อย่างผมนี่ พูดจริงๆ มีคำถามมากๆๆๆๆๆๆ แต่ผมไม่รู้จะถามใคร เลยต้องค่อยๆหาคำตอบเอง โดยการเดินตลาดทุกวัน
ผมจึงเรียนช้า กว่าจะผ่านแต่ละเนื้อก็หลายวัน บางทีเป็นเดือน อย่างพระสมเด็จเนื้อผงนี่หลายเดือนเลย อะไรที่คิดไม่ออกจะรอไว้ก่อน หาของได้แล้วค่อยมาคิดต่อ
คนจำนวนมาก ถ้าไม่ตั้งคำถามเอง มักจะได้คำตอบไม่ค่อยตรงประเด็นความสนใจครับ
ที่จริงผมก็เน้นช่วยคนที่มีศักยภาพมากกว่า ใครที่ไม่สะดวกผมก็ไม่แนะนำให้มาเสียเวลาตรงนี้ครับ แต่พอผมบอกไปว่าควรเลิก เหมือนกับผมไปว่า จึงมีไม่ถึงครึ่งที่ยอมถอยตามคำแนะนำของผม จึงมีคนจำนวนมาก ไม่เรียน แต่ก็ไม่ถอย ที่เป็นกลุ่มที่ผมเป็นห่วงมากๆครับ
ตัวผมเองที่เดินได้อยู่ทุกวันนี้ก็เพราะตั้งใจเรียน และ "เดินเร็ว" เป็นหลัก ถ้าเดินช้า เหมือนบางท่าน น่าจะมอดไหม้ไปในระบบตลาดพระนานแล้ว ผมจึงอยากเห็นทุกคนก้าวหน้าตามเส้นทางที่ตัวเองเลือก และถ้าไม่ถนัดควรจะไปเลือกทางอื่นๆ ที่ง่าย และดีกว่าครับ
นี่คือคำแนะนำจากประสบการณ์จริงๆ ตรงๆ ไม่ประชดใคร ในประเด็นใดทั้งสิ้น
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
แต่ก็เปิดช่องให้นักเรียนเข้ามาฝากคำถามไว้ในไลน์
ขณะอยู่ในงานเลี้ยง ผมก็แอบดูเป็นระยะ เผื่อจำเป็นจะต้องตอบคำถามแบบทันท่วงที
แต่ก็ไม่มีอะไรด่วนมาก มีเพียงคำถามเรื่องการดูรูปหล่อ ลพ ทวด 2505 ว่ามีหลักอะไรบ้าง
ด้วยความที่ผมยังไม่ได้เตรียมวัสดุการสอนไว้ในโนท ผมเลยตอบได้เฉพาะหลักการ ว่า.......
ให้ดูเนื้อเก่าลึก สนิมลึก ผิวนุ่ม ไม่มีความคม พิมพ์คมชัด มีผิวไฟ มีคราบขี้เบ้าแน่น เนียน ฯลฯ
ลักษณะสนิมลึกนั้น รวมสนิมน้ำหมากและสนิมหยก ที่ถ้าจะให้ชัดต้องมาดูของจริง รูปจะถ่ายไม่ค่อยชัด โดยเฉพาะท่านที่ยังดูรูปไม่เป็น
จึงขอแนะนำให้ดูที่บ้าน หรือถ้าดูรูปเป็น ดูในเฟสก็ได้ แต่จะสู้ส่ององค์จริงไม่ได้ครับ
พอมาถึงบ้านก็รีบถามว่า.... ใครยังรอถามอะไรไหมครับ
สำหรับเนื้อ ลพ ทวด จะจัดสอนให้หลังจากประเมินความต้องการของนักเรียนมากพอ ที่ตอนนี้ ผมก็มีไม่มาก สักสิบองค์ได้ ติดมากับพระเหมา ไม่ได้ตั้งใจหยิบ
เรื่อง ลพ ทวด เรียนเดี่ยวๆง่ายกว่า เพราะคนสนใจน้อยครับ ในกลุ่มเรียนเดิม มีคนสนใจไม่เกินสามคน และไม่ค่อยเต็มที่เท่าไหร่ครับ แต่คนกลุ่มนี้จำนวนหนึ่งหลุดไปเล่นเหรียญไปเลย เขาว่าเล่นง่าย แต่ผมว่าเล่นยาก มูลค่าเพิ่มก็น้อย ผมเลยไม่เล่นครับ เท่าที่ผมตามดูนะครับ เหรียญแท้ยาก เก๊ง่าย ตรงกันข้ามกับ ดิน ชิน ผง แท้ง่าย เก๊ยาก กว่ากันเยอะเลย
ในระหว่างนั้น ก็มีคำถามว่า ขี้เบ้า คือ อะไร
ที่แสดงว่าคนถามมาผิดสายแน่ๆ เพราะเป็นคำเรียกพื้นฐานมากๆ สำหรบสายที่เล่น “รูปหล่อ”
ขี้เบ้า ก็แค่เศษวัสดุไหม้ติดกับเนื้อพระ
ที่แสดงว่าท่านถามข้ามชุดความรู้กัน
ถ้าท่านที่เล่นพระรูปหล่อค่อยมาสนใจ ท่านเล่นพระกรุ อย่าถามเลยครับ คนละชุดความรู้กัน ตอบไปก็เข้าใจยากครับ
แค่คำถามผมก็รู้แล้วว่า ท่านผู้ถามไม่เล่นพระรูปหล่อ
ย้อนกลับมาวิเคราะห์สาเหตุที่ไม่ค่อยมีคำถามจากนักเรียนนั้น ผมเดาว่า ยังไม่ค่อยเดินตลาดกัน คนที่เดินตลาดบ่อยๆ คำถามคงจะเยอะแน่ๆ
อย่างผมนี่ พูดจริงๆ มีคำถามมากๆๆๆๆๆๆ แต่ผมไม่รู้จะถามใคร เลยต้องค่อยๆหาคำตอบเอง โดยการเดินตลาดทุกวัน
ผมจึงเรียนช้า กว่าจะผ่านแต่ละเนื้อก็หลายวัน บางทีเป็นเดือน อย่างพระสมเด็จเนื้อผงนี่หลายเดือนเลย อะไรที่คิดไม่ออกจะรอไว้ก่อน หาของได้แล้วค่อยมาคิดต่อ
คนจำนวนมาก ถ้าไม่ตั้งคำถามเอง มักจะได้คำตอบไม่ค่อยตรงประเด็นความสนใจครับ
ที่จริงผมก็เน้นช่วยคนที่มีศักยภาพมากกว่า ใครที่ไม่สะดวกผมก็ไม่แนะนำให้มาเสียเวลาตรงนี้ครับ แต่พอผมบอกไปว่าควรเลิก เหมือนกับผมไปว่า จึงมีไม่ถึงครึ่งที่ยอมถอยตามคำแนะนำของผม จึงมีคนจำนวนมาก ไม่เรียน แต่ก็ไม่ถอย ที่เป็นกลุ่มที่ผมเป็นห่วงมากๆครับ
ตัวผมเองที่เดินได้อยู่ทุกวันนี้ก็เพราะตั้งใจเรียน และ "เดินเร็ว" เป็นหลัก ถ้าเดินช้า เหมือนบางท่าน น่าจะมอดไหม้ไปในระบบตลาดพระนานแล้ว ผมจึงอยากเห็นทุกคนก้าวหน้าตามเส้นทางที่ตัวเองเลือก และถ้าไม่ถนัดควรจะไปเลือกทางอื่นๆ ที่ง่าย และดีกว่าครับ
นี่คือคำแนะนำจากประสบการณ์จริงๆ ตรงๆ ไม่ประชดใคร ในประเด็นใดทั้งสิ้น
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
นิทานที่ผมไม่ค่อยอยากฟัง (แต่ก็ได้ยินบ่อยมากๆ)
แทบทุกวัน จะมีคนนำพระเก๊ตาเปล่า เนื้อพลาสติก แต่งผิวบ้าง ไม่แต่งผิวบ้าง มาให้ชม……….
อาจารย์ครับกระผมขออนุญาต ฝากอาจารย์ติชมหน่อยนะครับ
ผมรับตัดบท..........พระแท้ไม่ได้หาง่ายๆนะครับ เปรียบดั่งท่านไม่รู้จักช้าง แต่จะไปจับช้างมาสักเชือกหนึ่ง เป็นไปได้ยากมากครับ
แต่เขาก็มั่นใจมาก........วัดระฆังเนื้อก้นครกพิมพ์ช่างหลวง ผิวโดนล้างนะครับ ถ้ายังไงพรุ่งนี้กระผมรบกวนอาจารย์ดูให้อีกรอบนะครับ
ผมพยายามสอนว่า.......ท่านชอบแบบนี้ก็เล่นไปเลยครับสร้างนิทานประกอบซะเพราะเลย พระพลาสติกจะล้างไม่ล้างก็ไม่เป็นผลหรอกครับมามาดนี้แนะนำให้เลิกไปจะดีกว่าครับ อย่ามาเสียเวลาแถวนี้เลยครับ
พระเนื้อปูนล้างแล้วจะเห็นปูน ไม่มีพลาสติกโผล่แน่นอน
เขากลับสอนผมว่า.............ก่อนปีสองห้ามีการปลอมพระน้อยมาส่วนพระองค์นี้ พอดีได้มาจากพ่ออะครับ พอดีว่ามันเก่ามากพ่อได้มาจากปู่หลายปีแล้ว ไม่รู้ว่าเป็นพระอะไรก็เลยล้างขัด แต่พอมีคนเห็นแล้วบอกประมาณที่ผมบอกแหละครับ
ผมพยายามบอกว่า.........ได้มาจากใครก็ไม่ต่างกันครับ ผมดูที่พระ ไม่ฟังนิทานครับ เพราะเนื้อพระสำคัญกว่าครับ
องค์นี้พลาสติกแน่นอน ปลอมปีไหนผมไม่ทราบอยากทราบไปถามเซียนพระพลาสติก ในเวบมีเกลื่อนมีเพื่อนเล่นเยอะครับไม่น้อยกว่า 90% คือถ้าชอบอย่างนี้ก็ไปจับกลุ่มกับพวกเซียนพระพลาสติก จะสนุกกว่ามาถามผมครับ เพราะผมเล่นแค่ปูนกับดินดิบเท่านั้น
เขายังไม่ฟังผม กลับถามต่อว่า.......สิ่งที่อาจารย์มองเห็นมีอะไรบ้าง
ผมไม่ทราบจะดูอะไร ก็เลยบอกว่า ...............ก็แค่พลาสติกอัด จะให้ยกอะไรเนื้อยังไม่พัฒนาอะไรเลยพระเนื้อปูนหลังล้าง อาทิตย์เดียวก็เห็นการพัฒนาการแล้วครับเพราะเนื้อจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและมวลสารวัดระฆังดูง่ายมากๆไม่มีอย่างที่คุณส่งมาสักนิดเดียว
ที่ผมส่งรูปให้ดูพระล้างหนักๆทั้งนั้นองค์กร่อนๆนั้นหนักที่สุด ลองดูมวลสาร แล้วจะเข้าใจว่าพระล้างเป็นอย่างไร
เล่นพระอย่ามั่วถ้าคิดจะมั่ว แนะนำให้เลิกไปซะ เสียเวลาชีวิตเป็นหมูสนามทั้งชาติแน่นอนวงการนี้ไม่ปรานีคนที่เล่นมั่วๆถ้าไม่คิดจะเรียนควรเลิกเล่นไปเลยครับผมกว่าจะฝ่าด่านวิชามารมาได้ก็หนักหนาสาหัสพอสมควรคุณเลิกตอนนี้ยังไม่สายผมเดาว่ายังหมดไม่ถึงล้านบาท
บางคนหมดไปเป็นร้อยล้าน ก็ยังเก็บพระพลาสติกไว้ให้ลูกหลานเต็มบ้านขนใส่รถมาเต็มคันรถให้ผมช่วยดู พลาสติกทั้งนั้นทั้งใบรับรอง ทั้งพระติดรางวัลที่1 เก๊ล้วนๆแล้วลูกหลานก็มาหลงดีใจว่าปู่เก็บพระไว้ให้ ที่แท้ก็เก๊ล้วนๆ น่าสงสารครับผมเจอมาเป็นสิบครอบครัวต้องอกหักกับการที่ปู่ไม่ยอมเรียน นี่แหละครับ
พอใครมามาดนี้ ผมแนะนำให้เลิก ง่ายและดีที่สุดกับตัวเอง ครอบครัว และวงศ์ตระกูลครับ
เมื่อไหร่นิทานเหล่านี้จะหมดคนเล่าสักที น่าเบื่อมากๆครับ
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
อาจารย์ครับกระผมขออนุญาต ฝากอาจารย์ติชมหน่อยนะครับ
ผมรับตัดบท..........พระแท้ไม่ได้หาง่ายๆนะครับ เปรียบดั่งท่านไม่รู้จักช้าง แต่จะไปจับช้างมาสักเชือกหนึ่ง เป็นไปได้ยากมากครับ
แต่เขาก็มั่นใจมาก........วัดระฆังเนื้อก้นครกพิมพ์ช่างหลวง ผิวโดนล้างนะครับ ถ้ายังไงพรุ่งนี้กระผมรบกวนอาจารย์ดูให้อีกรอบนะครับ
ผมพยายามสอนว่า.......ท่านชอบแบบนี้ก็เล่นไปเลยครับสร้างนิทานประกอบซะเพราะเลย พระพลาสติกจะล้างไม่ล้างก็ไม่เป็นผลหรอกครับมามาดนี้แนะนำให้เลิกไปจะดีกว่าครับ อย่ามาเสียเวลาแถวนี้เลยครับ
พระเนื้อปูนล้างแล้วจะเห็นปูน ไม่มีพลาสติกโผล่แน่นอน
เขากลับสอนผมว่า.............ก่อนปีสองห้ามีการปลอมพระน้อยมาส่วนพระองค์นี้ พอดีได้มาจากพ่ออะครับ พอดีว่ามันเก่ามากพ่อได้มาจากปู่หลายปีแล้ว ไม่รู้ว่าเป็นพระอะไรก็เลยล้างขัด แต่พอมีคนเห็นแล้วบอกประมาณที่ผมบอกแหละครับ
ผมพยายามบอกว่า.........ได้มาจากใครก็ไม่ต่างกันครับ ผมดูที่พระ ไม่ฟังนิทานครับ เพราะเนื้อพระสำคัญกว่าครับ
องค์นี้พลาสติกแน่นอน ปลอมปีไหนผมไม่ทราบอยากทราบไปถามเซียนพระพลาสติก ในเวบมีเกลื่อนมีเพื่อนเล่นเยอะครับไม่น้อยกว่า 90% คือถ้าชอบอย่างนี้ก็ไปจับกลุ่มกับพวกเซียนพระพลาสติก จะสนุกกว่ามาถามผมครับ เพราะผมเล่นแค่ปูนกับดินดิบเท่านั้น
เขายังไม่ฟังผม กลับถามต่อว่า.......สิ่งที่อาจารย์มองเห็นมีอะไรบ้าง
ผมไม่ทราบจะดูอะไร ก็เลยบอกว่า ...............ก็แค่พลาสติกอัด จะให้ยกอะไรเนื้อยังไม่พัฒนาอะไรเลยพระเนื้อปูนหลังล้าง อาทิตย์เดียวก็เห็นการพัฒนาการแล้วครับเพราะเนื้อจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและมวลสารวัดระฆังดูง่ายมากๆไม่มีอย่างที่คุณส่งมาสักนิดเดียว
ที่ผมส่งรูปให้ดูพระล้างหนักๆทั้งนั้นองค์กร่อนๆนั้นหนักที่สุด ลองดูมวลสาร แล้วจะเข้าใจว่าพระล้างเป็นอย่างไร
เล่นพระอย่ามั่วถ้าคิดจะมั่ว แนะนำให้เลิกไปซะ เสียเวลาชีวิตเป็นหมูสนามทั้งชาติแน่นอนวงการนี้ไม่ปรานีคนที่เล่นมั่วๆถ้าไม่คิดจะเรียนควรเลิกเล่นไปเลยครับผมกว่าจะฝ่าด่านวิชามารมาได้ก็หนักหนาสาหัสพอสมควรคุณเลิกตอนนี้ยังไม่สายผมเดาว่ายังหมดไม่ถึงล้านบาท
บางคนหมดไปเป็นร้อยล้าน ก็ยังเก็บพระพลาสติกไว้ให้ลูกหลานเต็มบ้านขนใส่รถมาเต็มคันรถให้ผมช่วยดู พลาสติกทั้งนั้นทั้งใบรับรอง ทั้งพระติดรางวัลที่1 เก๊ล้วนๆแล้วลูกหลานก็มาหลงดีใจว่าปู่เก็บพระไว้ให้ ที่แท้ก็เก๊ล้วนๆ น่าสงสารครับผมเจอมาเป็นสิบครอบครัวต้องอกหักกับการที่ปู่ไม่ยอมเรียน นี่แหละครับ
พอใครมามาดนี้ ผมแนะนำให้เลิก ง่ายและดีที่สุดกับตัวเอง ครอบครัว และวงศ์ตระกูลครับ
เมื่อไหร่นิทานเหล่านี้จะหมดคนเล่าสักที น่าเบื่อมากๆครับ
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน ของกลุ่ม การดูพระแท้ ทางไลน์ 8 กค 57
เมื่อคืนมีคนเข้าเรียนไม่มาก เลยสอนแบบเบาๆ โดยวิธีการให้ตั้งคำถามมา
ก็มีนักเรียนใหม่ นำพระกำแพงเม็ดขนุนเนื้อพลาสติก ทากาว เก๊ตาเปล่า มาถาม
ผมก็เลยให้หลักการสังเกตง่ายๆ ในกลุ่มพระกำแพง ที่มีหลักการที่ควรสังเกต 2 มุมครับ คือ....
พุทธศิลป์ ตามหลักของศิลปะกำแพง ที่มีส่วนผสมของ ศิลปะอู่ทอง เชียงแสน เป็นหลัก
และเอกลักษณ์ของการสร้าง ที่มักมีลายมือปรากฏด้านหลัง (ถ้าผิวไม่กร่อนมากนัก) แต่ พระเก่ามักจะกร่อน
ของที่ทำเลียนแบบ อาจจะกร่อนแต่ไม่งอก หรือ ทั้งไม่กร่อนไม่งอก
จึงไม่ควรสัมผัสพระของจริงบ่อยๆ ยิ่งเนื้ออ่อนมากยิ่งกร่อนง่าย
และมีคำถามต่อว่า พระเนื้อดินเคลือบรักน้ำเกลี้ยงมีไหมครับ
ที่ผมสงสัยว่า น่าจะเป็น ชุบยางไม้มากกว่า เพราะถ้ารักน้ำเกลี้ยงที่เคลือบเนื้อดิน ก็คงไหม้แบบเดียวกัน
และ ผมฟังยังกับ "พลาสติกชุบกาวมากกว่า" จึงขอดูเพื่อความมั่นใจ และนำรักน้ำเกลี้ยง ในพระสมเด็จให้ดูเป็นตัวอย่าง
เมื่อส่งรูปมาก็เป็นแค่พระพลาสติกชุบกาวชุบแป้ง เท่านั้นเอง
ก็เป็นการเรียนแบบเบาๆ สำหรับนักเรียนรุ่นใหม่ ที่พยายามจะปรับตัวให้ทันรุ่นก่อนๆ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
ก็มีนักเรียนใหม่ นำพระกำแพงเม็ดขนุนเนื้อพลาสติก ทากาว เก๊ตาเปล่า มาถาม
ผมก็เลยให้หลักการสังเกตง่ายๆ ในกลุ่มพระกำแพง ที่มีหลักการที่ควรสังเกต 2 มุมครับ คือ....
พุทธศิลป์ ตามหลักของศิลปะกำแพง ที่มีส่วนผสมของ ศิลปะอู่ทอง เชียงแสน เป็นหลัก
และเอกลักษณ์ของการสร้าง ที่มักมีลายมือปรากฏด้านหลัง (ถ้าผิวไม่กร่อนมากนัก) แต่ พระเก่ามักจะกร่อน
ของที่ทำเลียนแบบ อาจจะกร่อนแต่ไม่งอก หรือ ทั้งไม่กร่อนไม่งอก
จึงไม่ควรสัมผัสพระของจริงบ่อยๆ ยิ่งเนื้ออ่อนมากยิ่งกร่อนง่าย
และมีคำถามต่อว่า พระเนื้อดินเคลือบรักน้ำเกลี้ยงมีไหมครับ
ที่ผมสงสัยว่า น่าจะเป็น ชุบยางไม้มากกว่า เพราะถ้ารักน้ำเกลี้ยงที่เคลือบเนื้อดิน ก็คงไหม้แบบเดียวกัน
และ ผมฟังยังกับ "พลาสติกชุบกาวมากกว่า" จึงขอดูเพื่อความมั่นใจ และนำรักน้ำเกลี้ยง ในพระสมเด็จให้ดูเป็นตัวอย่าง
เมื่อส่งรูปมาก็เป็นแค่พระพลาสติกชุบกาวชุบแป้ง เท่านั้นเอง
ก็เป็นการเรียนแบบเบาๆ สำหรับนักเรียนรุ่นใหม่ ที่พยายามจะปรับตัวให้ทันรุ่นก่อนๆ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียนของกลุ่ม การดูพระแท้ ทางไลน์ 9 กรกฎาคม 2557
เมื่อคืน ผมเปิดประเด็นว่า วันนี้เรียนอะไรดี
เพราะ เจตนาอยากทราบปัญหารายบุคคล ว่าใครยังไม่ชัดเรื่องอะไรครับ
แต่ก็เงียบๆ เลยขอประเด็น "ดูเป็น" ก่อนเลยครับ
เน้นที่พระสมเด็จก็ได้ ขอประเด็นที่สงสัย แบบชัดๆ ถามกว้างเกินไปตอบยากครับ
หลัก 3+2 ยังสงสัยไหม ใครยังไม่เข้าใจประเด็นไหนของพระสมเด็จวัดระฆัง เน้นวัดระฆังเลยก็ได้ เพราะหาง่ายที่สุดอยู่แล้ว
การหาง่ายต้องเริ่มจากการดูเป็นก่อน คนดูไม่เป็น ยังไงก็หายากแน่นอนครับ
มีคำถามว่าการที่พระสมเด็จประทับนั่งเอียงซ้าย นั้นควรจำไหม ผมเลยบอกว่าเป็นพุทธศิลป์ของทั้งสามวัดเลยครับ
การศึกษา น่าจะศึกษาเนื้อก่อน พุทธศิลป์ทำเก๊ง่าย
บทฝึกขั้นต้นก็คือการหยิบพระเนื้อผงใหม่ๆ ได้ถูกต้อง การปฏิบัติของจริงก็ต้องเดินตลาด แต่ก็ไม่แนะนำให้ก้าวกระโดดไปหาพระเก่าเลยทีเดียว เพราะหายากมักจะพลาดไปหยิบพระฝีมือมากกว่า เพราะยังไม่แม่นในหลักการ
ถ้ายังไม่แม่น ไม่ควรกระโดด เพราะ ท่านจะโดนพระทำเลียนแบบพระเก่า ที่ยังไงก็ไม่ควรหยิบ ก็แค่ เก๊ตาเปล่าธรรมดาๆ สู้ไปหยิบพระใหม่ๆ องค์ละห้าสิบ สามองค์ร้อย อะไรประมาณนั้นครับ
คือผมไม่แนะนำให้เริ่มที่พระเลียนแบบ
และสงสัยว่าทำไมจึงไปหยิบพระเก๊ตาเปล่าแบบนั้น คิดอะไรอยู่ในขณะหยิบ
ท่านทราบไหมว่า ทำไมจึงควรเริ่มที่พระใหม่ๆ
ที่จริงก็ คือ 1. หาง่าย 2. ราคาถูก พลาดไม่เจ็บมาก 3. เป็นการวัดการพัฒนาสายตา
ที่ว่าเก๊ตาเปล่าก็มาจากพิมพ์ผิดเยอะ
ถ้าไม่หยิบพระใหม่ แล้วจะฝึกสายตาโดยวิธีใด พระใหม่ๆ ช่วยได้มากครับ
เวลาส่อง ต้องขอดูด้านข้างด้วย เพื่อ ดูการงอกและการปริแยก เพราะเนื้อด้านข้างจะไม่แน่น จะงอกมากกว่าหน้าและหลัง
ด้านข้างนี้อาจจะกร่อนบ้าง เฉพาะพระใช้ พระใช้น้อยจะงอกมากกว่า ด้านข้างทำเก๊ยากเพราะพื้นที่แคบ พระใส่ตลับนาน มักเกาะหุ้มฟองน้ำไว้ด้วยเลย รักอาจจะพบในพระที่ยังไม่ล้าง มวลสารต่างๆ ยังไงก็ต้องมน โดยไม่เกี่ยวกับการล้าง
มีคำถามเกี่ยวกับพุทธศิลป์ มีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ผมบอกว่า แต่ละบล็อกวงแขนจะต่างนิดหน่อย แต่พุทธศิลป์เดียวกัน ศอกซ้ายจะสูงกว่าขวาเล็กน้อย เพราะเป็นพุทธศิลป์
พระบาทซ้ายจะตรง และสุดที่ใต้เข่า แต่ละบล็อกอาจจะไม่เหมือนกัน แต่พุทธศิลป์เดียวกัน และถ้าการติดไม่ชัด แค่น่าสงสัย อาจจะไม่เก๊ ฐานแข้งจะเว้า เท้าไม่สูงกว่าเข่า ของเก๊มักจะทำเท้าสูงกว่าเข่า
เวลาถ่ายรูป ควรถ่ายชัด จะจำได้เร็ว ถ่ายเบลอร์ๆ จะดูยากและจำยาก จุดนูนสูงย่อมกร่อนมากกว่า
พุทธศิลป์ต้องจำให้ได้ แค่เข้าใจไม่พอครับ ผมจึงเน้นให้ดูเนื้อจะง่ายกว่าเยอะ เพราะเมื่อเนื้อใช่แปลว่า พระแท้ แต่ไม่รู้ที่ พิมพ์ใช่จึงจะรู้ที่ ว่า แน่นอนของวัดระฆังที่มีเนื้อหลักๆ สามแบบ แก่ปูน แก่ผง และเทียนขัย
ฐานศีล เป็นแท่งสี่เหลี่ยมคางหมู มีติ่งเชื่อมกรอบซุ้มกับฐานศีล ที่เป็นระดับพุทธศิลป์เลย ไปอ่านที่ผมวิเคราะห์ไว้แล้วในเวบ gotoknow
เกศพริ้วสะบัดก็เป็นพุทธศิลป์และบล็อกครับ ขอให้รู้ว่าไม่บิดซ้ายก็บิดขวาก็พอ แต่ส่วนใหญ่บิดไปทางซ้ายมือเรา เป็นความหมายของ "การรู้แจ้งในโลก -โลกวิทู" เป็นจุดแรกที่ผมจะดูวัดระฆัง ถ้าเกศไม่พลิ้ว วางเลยครับ ถ้าพลิ้วค่อยลุ้นต่อ
สำหรับเส้นซุ้ม เป็นพุทธศิลป์ใหญ่ของ "ซุ้ม ก" เลย เป็นที่มาของคำว่า ซุ้ม ก เป็นพุทธศิลป์หลักเลย จุดหักก็ ปาก ก ไก่
ส่วนการโค้งงออื่นๆนั้นเป็นการแกะบล็อก ถ้าตรงทื่อก็เก๊เลย
ฐานศีลจะมีการงอกสองขอบนอก ทำให้ดูยุบตรงกลาง พิมพ์ใหญ่หลายบล็อก ก็มีเส้นแซมสองเส้น
หลักสำคัญก็คือ ดูเนื้อให้ขาด 3+2 ดูพิมพ์ประกอบก็พอแล้วครับ รายละเอียดอื่นๆ ไม่ต้องจำมากก็ได้ แต่ถ้าจะดูเพื่อความงามและความสนุกนั้นก็อีกระดับหนึ่งครับ
บางท่านก็ถามลึกไปครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
เพราะ เจตนาอยากทราบปัญหารายบุคคล ว่าใครยังไม่ชัดเรื่องอะไรครับ
แต่ก็เงียบๆ เลยขอประเด็น "ดูเป็น" ก่อนเลยครับ
เน้นที่พระสมเด็จก็ได้ ขอประเด็นที่สงสัย แบบชัดๆ ถามกว้างเกินไปตอบยากครับ
หลัก 3+2 ยังสงสัยไหม ใครยังไม่เข้าใจประเด็นไหนของพระสมเด็จวัดระฆัง เน้นวัดระฆังเลยก็ได้ เพราะหาง่ายที่สุดอยู่แล้ว
การหาง่ายต้องเริ่มจากการดูเป็นก่อน คนดูไม่เป็น ยังไงก็หายากแน่นอนครับ
มีคำถามว่าการที่พระสมเด็จประทับนั่งเอียงซ้าย นั้นควรจำไหม ผมเลยบอกว่าเป็นพุทธศิลป์ของทั้งสามวัดเลยครับ
การศึกษา น่าจะศึกษาเนื้อก่อน พุทธศิลป์ทำเก๊ง่าย
บทฝึกขั้นต้นก็คือการหยิบพระเนื้อผงใหม่ๆ ได้ถูกต้อง การปฏิบัติของจริงก็ต้องเดินตลาด แต่ก็ไม่แนะนำให้ก้าวกระโดดไปหาพระเก่าเลยทีเดียว เพราะหายากมักจะพลาดไปหยิบพระฝีมือมากกว่า เพราะยังไม่แม่นในหลักการ
ถ้ายังไม่แม่น ไม่ควรกระโดด เพราะ ท่านจะโดนพระทำเลียนแบบพระเก่า ที่ยังไงก็ไม่ควรหยิบ ก็แค่ เก๊ตาเปล่าธรรมดาๆ สู้ไปหยิบพระใหม่ๆ องค์ละห้าสิบ สามองค์ร้อย อะไรประมาณนั้นครับ
คือผมไม่แนะนำให้เริ่มที่พระเลียนแบบ
และสงสัยว่าทำไมจึงไปหยิบพระเก๊ตาเปล่าแบบนั้น คิดอะไรอยู่ในขณะหยิบ
ท่านทราบไหมว่า ทำไมจึงควรเริ่มที่พระใหม่ๆ
ที่จริงก็ คือ 1. หาง่าย 2. ราคาถูก พลาดไม่เจ็บมาก 3. เป็นการวัดการพัฒนาสายตา
ที่ว่าเก๊ตาเปล่าก็มาจากพิมพ์ผิดเยอะ
ถ้าไม่หยิบพระใหม่ แล้วจะฝึกสายตาโดยวิธีใด พระใหม่ๆ ช่วยได้มากครับ
เวลาส่อง ต้องขอดูด้านข้างด้วย เพื่อ ดูการงอกและการปริแยก เพราะเนื้อด้านข้างจะไม่แน่น จะงอกมากกว่าหน้าและหลัง
ด้านข้างนี้อาจจะกร่อนบ้าง เฉพาะพระใช้ พระใช้น้อยจะงอกมากกว่า ด้านข้างทำเก๊ยากเพราะพื้นที่แคบ พระใส่ตลับนาน มักเกาะหุ้มฟองน้ำไว้ด้วยเลย รักอาจจะพบในพระที่ยังไม่ล้าง มวลสารต่างๆ ยังไงก็ต้องมน โดยไม่เกี่ยวกับการล้าง
มีคำถามเกี่ยวกับพุทธศิลป์ มีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ผมบอกว่า แต่ละบล็อกวงแขนจะต่างนิดหน่อย แต่พุทธศิลป์เดียวกัน ศอกซ้ายจะสูงกว่าขวาเล็กน้อย เพราะเป็นพุทธศิลป์
พระบาทซ้ายจะตรง และสุดที่ใต้เข่า แต่ละบล็อกอาจจะไม่เหมือนกัน แต่พุทธศิลป์เดียวกัน และถ้าการติดไม่ชัด แค่น่าสงสัย อาจจะไม่เก๊ ฐานแข้งจะเว้า เท้าไม่สูงกว่าเข่า ของเก๊มักจะทำเท้าสูงกว่าเข่า
เวลาถ่ายรูป ควรถ่ายชัด จะจำได้เร็ว ถ่ายเบลอร์ๆ จะดูยากและจำยาก จุดนูนสูงย่อมกร่อนมากกว่า
พุทธศิลป์ต้องจำให้ได้ แค่เข้าใจไม่พอครับ ผมจึงเน้นให้ดูเนื้อจะง่ายกว่าเยอะ เพราะเมื่อเนื้อใช่แปลว่า พระแท้ แต่ไม่รู้ที่ พิมพ์ใช่จึงจะรู้ที่ ว่า แน่นอนของวัดระฆังที่มีเนื้อหลักๆ สามแบบ แก่ปูน แก่ผง และเทียนขัย
ฐานศีล เป็นแท่งสี่เหลี่ยมคางหมู มีติ่งเชื่อมกรอบซุ้มกับฐานศีล ที่เป็นระดับพุทธศิลป์เลย ไปอ่านที่ผมวิเคราะห์ไว้แล้วในเวบ gotoknow
เกศพริ้วสะบัดก็เป็นพุทธศิลป์และบล็อกครับ ขอให้รู้ว่าไม่บิดซ้ายก็บิดขวาก็พอ แต่ส่วนใหญ่บิดไปทางซ้ายมือเรา เป็นความหมายของ "การรู้แจ้งในโลก -โลกวิทู" เป็นจุดแรกที่ผมจะดูวัดระฆัง ถ้าเกศไม่พลิ้ว วางเลยครับ ถ้าพลิ้วค่อยลุ้นต่อ
สำหรับเส้นซุ้ม เป็นพุทธศิลป์ใหญ่ของ "ซุ้ม ก" เลย เป็นที่มาของคำว่า ซุ้ม ก เป็นพุทธศิลป์หลักเลย จุดหักก็ ปาก ก ไก่
ส่วนการโค้งงออื่นๆนั้นเป็นการแกะบล็อก ถ้าตรงทื่อก็เก๊เลย
ฐานศีลจะมีการงอกสองขอบนอก ทำให้ดูยุบตรงกลาง พิมพ์ใหญ่หลายบล็อก ก็มีเส้นแซมสองเส้น
หลักสำคัญก็คือ ดูเนื้อให้ขาด 3+2 ดูพิมพ์ประกอบก็พอแล้วครับ รายละเอียดอื่นๆ ไม่ต้องจำมากก็ได้ แต่ถ้าจะดูเพื่อความงามและความสนุกนั้นก็อีกระดับหนึ่งครับ
บางท่านก็ถามลึกไปครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน ในกลุ่ม การดูพระแท้ ทางไลน์ 10 กรกฎาคม 2557
วันนี้ระว่างไปทำนา มีคนโทรมาหา อ้างว่าเป็นลูกศิษย์ จับหลักการ (หลักสาม) เนื้อดิน นำไปหยิบพระมาได้
ทำให้ผมดีใจมากๆๆหยุดทำนา รีบไปหยิบโนตในรถมาเปิดดูทันที
แต่พอให้ส่งมาดู ก็แค่เก๊ตาเปล่า ระดับพลาสติกอัด แบบหยาบๆ ระดับอนุบาล ยังไม่แต่งสีแต่งผิวด้วยซ้ำ พิมพ์ก็ไม่ใกล้เคียงอะไรเลย ประหลาดใจว่าเป็นไปได้ยังไง แล้วทำไมยังมากล้าอ้างหลักการที่ผมให้ไว้ ได้ไง ไม่เข้าใจจริงๆ
เลยสงสัยว่าเขาเป็นคนจริงๆหรือเปล่า หรือ แม้แต่ตัวเองก็เป็นคนเก๊
หลังจากเสร็จงานประจำวันที่นาไปตลาดพระวันนี้ ก็ยังได้บ้านกร่างมาอีกองค์ แสดงว่ากระแสบ้านกร่างยังไม่หยุด
ก็เลยเริ่มเปิดประเด็นพระบ้านกร่าง ไปก่อนก็แล้วกัน
โดยตั้งโจทย์ว่า..........
ใครยังคิดว่าจะยังหยิบบ้านกร่างไม่ถูก ให้อธิบายความไม่เข้าใจมาเลยครับเพราะหลักสำคัญที่ผมใช้ก็คือ
ทรายมน + ร่องทรายทุกเม็ด ทรายลอยหรือร่องทรายรอบเม็ดทราย ความหมายเดียวกัน
พระเก๊เม็ดทรายจะจมครับถ้าทั้งจมทั้งคม เก๊ตาเปล่าเลยครับ
ต่อจากนั้นมีคนนำพระชินราชเคลือบ ที่ผมก็เพิ่งเจอเก๊เฉียบ เกือบโดนในวันนี้
องค์เก๊เฉียบ ขาดลายมือ และความฉ่ำด้านหลัง และมีคราบสีน้ำตาลแปลกๆของแท้ดูที่ลายมือและความฉ่ำด้านหลัง
ก็หลักการ 3 เหี่ยว ฉ่ำ นวล นั่นแหละ
รอสักพัก ไม่มีคำถาม ผมเลยพากลับมาที่พระกรุบางขุนพรหม ที่ผมยังไม่เคยชี้ชัดมาก่อนมากนัก ก็คือคราบกรุบางขุนพรหม ที่ประกอบด้วยดินและทรายเป็นหลัก
ตำราชอบพูดมั่ว ปนกันระหว่างคราบปูนงอกและคราบกรุ คราบปูนงอกเป็นเม็ดไข่มุก ก็เป็นสัญลักษณ์ของ "กรุ" บางขุนพรหมที่เป็นคราบเกาะกับคราบตะกรัน (ปูนดิบ+ปูนสุก)องค์ที่พิมพ์วัดระฆัง เนื้อบางขุนพรหม คราบบางขุนพรหมจึงมั่นใจว่าเป็น "สองคลอง"
แต่ก็มีคำถามถึงพระสภาพใช้ คือพระกร่อน นี่คือศัพท์ของวงการครับ
ถ้าไม่กร่อนเขาเรียกพระเดิมๆ
และผมย้ำว่า พระในตลาดล่างนั้น เป็นพระดูยากเท่านั้น อย่าหวังเจอพระดูง่ายนะครับ จึงต้องจับหลักการต่างๆ ให้แม่นไงครับทั้งหลัก 1234+ ต่างๆ ตามชุดของเนื้อดิน ชิน ผง อย่าคิดไปเองเป็นอันขาด โดนแน่ๆ ครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
ทำให้ผมดีใจมากๆๆหยุดทำนา รีบไปหยิบโนตในรถมาเปิดดูทันที
แต่พอให้ส่งมาดู ก็แค่เก๊ตาเปล่า ระดับพลาสติกอัด แบบหยาบๆ ระดับอนุบาล ยังไม่แต่งสีแต่งผิวด้วยซ้ำ พิมพ์ก็ไม่ใกล้เคียงอะไรเลย ประหลาดใจว่าเป็นไปได้ยังไง แล้วทำไมยังมากล้าอ้างหลักการที่ผมให้ไว้ ได้ไง ไม่เข้าใจจริงๆ
เลยสงสัยว่าเขาเป็นคนจริงๆหรือเปล่า หรือ แม้แต่ตัวเองก็เป็นคนเก๊
หลังจากเสร็จงานประจำวันที่นาไปตลาดพระวันนี้ ก็ยังได้บ้านกร่างมาอีกองค์ แสดงว่ากระแสบ้านกร่างยังไม่หยุด
ก็เลยเริ่มเปิดประเด็นพระบ้านกร่าง ไปก่อนก็แล้วกัน
โดยตั้งโจทย์ว่า..........
ใครยังคิดว่าจะยังหยิบบ้านกร่างไม่ถูก ให้อธิบายความไม่เข้าใจมาเลยครับเพราะหลักสำคัญที่ผมใช้ก็คือ
ทรายมน + ร่องทรายทุกเม็ด ทรายลอยหรือร่องทรายรอบเม็ดทราย ความหมายเดียวกัน
พระเก๊เม็ดทรายจะจมครับถ้าทั้งจมทั้งคม เก๊ตาเปล่าเลยครับ
ต่อจากนั้นมีคนนำพระชินราชเคลือบ ที่ผมก็เพิ่งเจอเก๊เฉียบ เกือบโดนในวันนี้
องค์เก๊เฉียบ ขาดลายมือ และความฉ่ำด้านหลัง และมีคราบสีน้ำตาลแปลกๆของแท้ดูที่ลายมือและความฉ่ำด้านหลัง
ก็หลักการ 3 เหี่ยว ฉ่ำ นวล นั่นแหละ
รอสักพัก ไม่มีคำถาม ผมเลยพากลับมาที่พระกรุบางขุนพรหม ที่ผมยังไม่เคยชี้ชัดมาก่อนมากนัก ก็คือคราบกรุบางขุนพรหม ที่ประกอบด้วยดินและทรายเป็นหลัก
ตำราชอบพูดมั่ว ปนกันระหว่างคราบปูนงอกและคราบกรุ คราบปูนงอกเป็นเม็ดไข่มุก ก็เป็นสัญลักษณ์ของ "กรุ" บางขุนพรหมที่เป็นคราบเกาะกับคราบตะกรัน (ปูนดิบ+ปูนสุก)องค์ที่พิมพ์วัดระฆัง เนื้อบางขุนพรหม คราบบางขุนพรหมจึงมั่นใจว่าเป็น "สองคลอง"
แต่ก็มีคำถามถึงพระสภาพใช้ คือพระกร่อน นี่คือศัพท์ของวงการครับ
ถ้าไม่กร่อนเขาเรียกพระเดิมๆ
และผมย้ำว่า พระในตลาดล่างนั้น เป็นพระดูยากเท่านั้น อย่าหวังเจอพระดูง่ายนะครับ จึงต้องจับหลักการต่างๆ ให้แม่นไงครับทั้งหลัก 1234+ ต่างๆ ตามชุดของเนื้อดิน ชิน ผง อย่าคิดไปเองเป็นอันขาด โดนแน่ๆ ครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
หลักการที่แตกต่างในการแยกพระแท้-เก๊ ของคนต่างระดับความคิดและความรู้
จากประสบการณ์.ในวงการพระเครื่อง ผมได้รวบรวมความรู้ และนำมาจำแนกประเภทของความคิดของคนที่นับถือพระพุทธรูป ได้หลายกลุ่ม ตามระบบความคิด ได้ดังนี้
1. ระดับนับถือพระพุทธรูป พระแท้ คือ พระที่มีรูปของพระพุทธรูป ถ้าไม่มีพระพุทธรูปถือเป็นพระเก๊
2. ระดับนับถือบรรพบุรุษ พระของพ่อ ของปู่ ของตา ของทวด คือพระแท้ นอกนั้นไม่ทราบ ไม่แน่ใจ
3. ระดับนับถือพระสงฆ์ นับถือวัด พระแท้คือพระที่รับมาจากวัด รับมาจากพระ (กับมือ) นอกนั้นไม่ทราบ ไม่แน่ใจ
4. ระดับนับถือบ้าน นับถือหิ้งพระ พระแท้ คือพระที่นำออกมาจากบ้าน หรือจากหิ้งพระของบ้านต่างๆ นอกนั้นไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจ
5. ระดับนับถือผู้ใหญ่ เจ้านาย ลูกน้อง พระแท้ คือพระที่ผู้ใหญ่ เจ้านายให้ นอกนั้นไม่แน่ใจ แม้แต่ลูกน้องให้ก็ไม่ค่อยแน่ใจ
6. ระดับนับถือประสบการณ์ พระแท้คือพระที่เมื่อพกพาแล้ว เกิดผลดี ไม่ว่าด้านใดก็ตาม เช่น งานสำเร็จ รถชนกันก็ไม่ตาย เครื่องบินตกก็ยังรอด (โดยไม่จำเป็นต้องพิจารณาว่าผลดีเกิดจากอะไรได้บ้าง) ถ้าพกพาไปแล้ว ก็ยังโดนยิงตาย หรือประสพอันตรายอยู่ ถือว่าพระเก๊
7. ระดับคนขายพระ พระแท้ คือพระที่ขายได้ (หรือมีคนถามซื้อ) ถ้าขายไม่ได้ก็เป็นพระเก๊
8. ระดับนักจับพลัง พระแท้คือพระที่จับแล้วมีพลัง ถ้าจับพลังไม่ได้ ก็คือพระเก๊
9. ระดับคนใช้หูดูพระ พระแท้ คือพระที่คนดูที่ผ่านมา (จะมีความรู้หรือไม่ก็ตาม) ทุกคน บอกว่าแท้ ถ้ามีใครสักคนบอกว่าเก๊ พระนั้นก็คือพระเก๊ (ที่มักจะสับสนในชีวิต เพราะคนบอกไม่ตรงกัน)
10. ระดับปากคาบคัมภีร์ พระแท้ คือพระที่มีตำราบอกว่าแท้ ถ้าไม่มีในตำรา ก็คือพระเก๊
11. ระดับถือใบรับรองเป็นพระเจ้า พระแท้ คือ พระที่มีใบรับรอง ถ้าไม่มีใบรับรอง ก็คือพระเก๊
12. ระดับนับถือคนมีเงินเป็นพระเจ้า พระแท้ คือพระราคาแพง พระเก๊คือพระราคาถูก หรือขายไม่ได้
13. ระดับนับถือ “เซียน” เป็นพระเจ้า พระแท้ คือพระที่เซียนบอกว่าแท้ พระเก๊ คือพระที่เซียนบอกว่าเก๊
14. ระดับ “ศิลปิน” พระแท้คือพระที่ “กรมศิลป์” บอกว่าแท้ หรือ มีศิลปะตรงตามตำรา นอกนั้นเป็นพระเก๊
15. ระดับนักวิชาการเทียม (Pseudo scientist) พระแท้คือพระที่เครื่องมือวัดบอกว่าแท้ ถ้าเครื่องมือวัดบอกว่าเก๊ ก็คือพระเก๊
16. ระดับนักโบราณคดี พระแท้ คือ พระที่มีความเก่า พระที่ไม่มีความเก่า ก็คือพระเก๊
17. ระดับนักเรียน พระแท้ คือ พระที่มีลักษณะตามหลักการทางวิชาการ ทางมวลสาร และพัฒนาการตามอายุและสิ่งแวดล้อมของแต่ละสถานที่ ถ้าไม่เป็นไปตามหลักการดังกล่าว ก็คือพระเก๊
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
1. ระดับนับถือพระพุทธรูป พระแท้ คือ พระที่มีรูปของพระพุทธรูป ถ้าไม่มีพระพุทธรูปถือเป็นพระเก๊
2. ระดับนับถือบรรพบุรุษ พระของพ่อ ของปู่ ของตา ของทวด คือพระแท้ นอกนั้นไม่ทราบ ไม่แน่ใจ
3. ระดับนับถือพระสงฆ์ นับถือวัด พระแท้คือพระที่รับมาจากวัด รับมาจากพระ (กับมือ) นอกนั้นไม่ทราบ ไม่แน่ใจ
4. ระดับนับถือบ้าน นับถือหิ้งพระ พระแท้ คือพระที่นำออกมาจากบ้าน หรือจากหิ้งพระของบ้านต่างๆ นอกนั้นไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจ
5. ระดับนับถือผู้ใหญ่ เจ้านาย ลูกน้อง พระแท้ คือพระที่ผู้ใหญ่ เจ้านายให้ นอกนั้นไม่แน่ใจ แม้แต่ลูกน้องให้ก็ไม่ค่อยแน่ใจ
6. ระดับนับถือประสบการณ์ พระแท้คือพระที่เมื่อพกพาแล้ว เกิดผลดี ไม่ว่าด้านใดก็ตาม เช่น งานสำเร็จ รถชนกันก็ไม่ตาย เครื่องบินตกก็ยังรอด (โดยไม่จำเป็นต้องพิจารณาว่าผลดีเกิดจากอะไรได้บ้าง) ถ้าพกพาไปแล้ว ก็ยังโดนยิงตาย หรือประสพอันตรายอยู่ ถือว่าพระเก๊
7. ระดับคนขายพระ พระแท้ คือพระที่ขายได้ (หรือมีคนถามซื้อ) ถ้าขายไม่ได้ก็เป็นพระเก๊
8. ระดับนักจับพลัง พระแท้คือพระที่จับแล้วมีพลัง ถ้าจับพลังไม่ได้ ก็คือพระเก๊
9. ระดับคนใช้หูดูพระ พระแท้ คือพระที่คนดูที่ผ่านมา (จะมีความรู้หรือไม่ก็ตาม) ทุกคน บอกว่าแท้ ถ้ามีใครสักคนบอกว่าเก๊ พระนั้นก็คือพระเก๊ (ที่มักจะสับสนในชีวิต เพราะคนบอกไม่ตรงกัน)
10. ระดับปากคาบคัมภีร์ พระแท้ คือพระที่มีตำราบอกว่าแท้ ถ้าไม่มีในตำรา ก็คือพระเก๊
11. ระดับถือใบรับรองเป็นพระเจ้า พระแท้ คือ พระที่มีใบรับรอง ถ้าไม่มีใบรับรอง ก็คือพระเก๊
12. ระดับนับถือคนมีเงินเป็นพระเจ้า พระแท้ คือพระราคาแพง พระเก๊คือพระราคาถูก หรือขายไม่ได้
13. ระดับนับถือ “เซียน” เป็นพระเจ้า พระแท้ คือพระที่เซียนบอกว่าแท้ พระเก๊ คือพระที่เซียนบอกว่าเก๊
14. ระดับ “ศิลปิน” พระแท้คือพระที่ “กรมศิลป์” บอกว่าแท้ หรือ มีศิลปะตรงตามตำรา นอกนั้นเป็นพระเก๊
15. ระดับนักวิชาการเทียม (Pseudo scientist) พระแท้คือพระที่เครื่องมือวัดบอกว่าแท้ ถ้าเครื่องมือวัดบอกว่าเก๊ ก็คือพระเก๊
16. ระดับนักโบราณคดี พระแท้ คือ พระที่มีความเก่า พระที่ไม่มีความเก่า ก็คือพระเก๊
17. ระดับนักเรียน พระแท้ คือ พระที่มีลักษณะตามหลักการทางวิชาการ ทางมวลสาร และพัฒนาการตามอายุและสิ่งแวดล้อมของแต่ละสถานที่ ถ้าไม่เป็นไปตามหลักการดังกล่าว ก็คือพระเก๊
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน ของกลุ่ม การดูพระแท้ ทางไลน์ 11 กรกฎาคม 2557
ที่ผ่านมาผมรวมกลุ่มสอนเป็นกลุ่มเดียว ทำให้กลุ่มใหม่ๆ ก็ตามไม่ทัน กลุ่มเก่าก็เซ็งกับคำถามตื้นๆ
วันนี้จึงคัดแยกกลุ่มมือใหม่ออกไปแล้ว การเรียนทั้งสองกลุ่มพร้อมๆกันน่าจะเข้มข้นขึ้นนะครับ
การสอนควบคู่กันนั้นยังอยู่ที่เนื้อผง แต่ก็มีคำถามของกลุ่ม 1 ไปทางเนื้อดินบ้าง
จุดเน้นคือ เนื้อผง ในประเด็นพระแท้ดูยาก แต่ก็มีรายละเอียดมากเกินไป จึงต้องเปิดประเด็น "ดูยาก" ไหนดีครับ โดยกลับมาคิดว่า พระดูยากเพราะอะไรครับ ทำไมพระเหล่านั้น จึงมาถึงเรา แล้วเราจะหยิบได้อย่างไร
สุดท้ายก็ตัดสินใจมาเริ่มที่พระล้าง............ว่า........... พระล้างดูยากยังไงครับ
ที่ต้องกลับไปถามว่า เขาล้างอะไร ระดับไหนบ้าง ที่สำคัญ "ล้างทำไม" ถ้าไม่ล้างจะดีกว่าไหม
คนที่เอาพระไปล้างอาจคิดแบบเด็กๆ เห็นว่าดำมากมองแทบไม่เห็นรายละเอียด แถมดูสกปรก เลยขัดซะเลี่ยม ดูสะอาดเห็นรายละเอียดมากขึ้น แต่ ถ้าไม่ล้างคงดูดี บอกความเก่าได้ดีกว่าและเป็นธรรมชาติกว่าด้วย
แล้วถ้าไม่ล้างเลยละครับ
จะดูยากหรือดูง่าย
ตกลงเอาไง ชอบแบบไหน ล้างหรือไม่ล้าง
งั้นเริ่มที่ไม่ล้าง ดูยากอย่างไรครับ
พระไม่ล้างจะมองดูเนื้อ ดูมวลสารยาก เพราะโดนคราบกรุคราบหิ้งบังเนื้อไว้ เซียนที่ดูความเก่าไม่เป็นเลยปล่อยผ่าน
ความนวลกับคราบแป้งโปะ ความฉ่ำกับคราบกาวโปะ จะแยกกันอย่างไร ความเหี่ยวดูยากมากๆ เพราะมองไม่เห็นเนื้อ จะดูอย่างไรครับ
ความเหี่ยวดูยากมากๆ เพราะมองไม่เห็นเนื้อ จะดูอย่างไรครับ
เรากำลังคุยเรื่องพระดูยากเพราะยังไม่ล้างครับ
ความนวลกับคราบแป้งโปะ ความฉ่ำกับคราบกาวโปะ จะแยกกันอย่างไร
ความนวลกับความฉ่ำต้องมีที่มาที่ไป เป็นระบบ
ชั้นของคราบแต่ละชนิดแต่ละชั้นเกี่ยวเนื่องต่อกัน
เกิดคราบแป้งจุดนี้ แล้วมีคราบหิ้งมาทับ เมื่อถึงระยะเวลาหนึ่งหากรูตราบแป้งยังไม่อุดตันอุณหภูมิและความชื้นก็จะทำปฏิกิริยาให้มีคราบแป้งขึ้นทับซ้อน
แป้งโปะจะมีบางส่วนตกลงไปในรู อุดอยู่เต็มรู ต่างจากความนวลที่ออกมาจากรูแล้วไหลไปบนพื้นที่ต่ำใกล้รู
ความฉ่ำละครับ ต่างจากคราบโปะอย่างไร ความฉ่ำคือการงอกของปูนดิบและตังอิ๊ว ทับซ้อนบนก้อนปูนดิบเดิมทีละเม็ด คราบโปะทีละก้อน ความฉ่ำจะอยู่บนสันบนส่วนที่สูง และตามสันของรอยแตกรอยแยกในส่วนที่ต่ำ คราบโปะจะเลอะๆ กระจัดกระจายไม่เป็นระบบ
จุดฟันธงของการงอกยังต้องดู "หลากอายุ" หลากสี คราบโปะ สีเดียว อายุเดียว
สรุป พระยังไม่ล้างจะดูเนื้อยาก แต่ดูคราบง่าย คราบโปะมองเห็นขอบฐาน การงอกมองเห็นแค่ยอด ฐานโดนคราบอื่นคลุม
งั้นกลับมาอีกมุม พระล้าง ดูยากยังไง ก่อนอื่น ล้างมีกี่แบบ กี่ระดับ ล้างรักเป็นข้อแรก ล้างคราบกรุบางขุนพรหม สุดท้ายล้างคราบปูนงอกออกครับ เหลือแต่เนื้อเดิมๆ ที่ว่าดูยากจริงๆ
พระล้างระดับไหนดูง่ายที่สุดครับ หรือ ถามใหม่ดีกว่า พระล้างแล้วจะเสียสภาพอะไรบ้าง
พระล้างใหม่ๆ ดูยากทุกองค์ เพราะอะไร
ข้อ 1 ปูนสุกไม่มี ก็เหมือนพลาสติกเลย ข้อนี้มีข้อแก้ไขสองทาง
1. ดูความเหี่ยวของผิว
2. ดูความนวลในซอกลึกๆ ถ้าเป็นวัดระฆัง ดูรักที่ยังฝังในเนื้อ
ที่ดูยากจริงๆ ก็พระที่ล้างตัวเอง "แก่ปูนสุก" ร่อนออกจนดูยังกับพระล้างมาหนัก แต่ที่ยืนยันว่าไม่ได้ล้างก็คือคราบตั้งอิ้วที่เหลือ
มาถึงคำถามครับ พระล้างมาหนักๆ จะดูอย่างไร
ข้อสังเกตพระล้างมาหนักมาก มีจุดฟันธงอะไรบ้าง
พระล้างจะพรุนทั้งองค์เลยครับ เหมือนพระเก๊ปูนปลาสเตอร์เลยครับ
แต่อย่ามองข้าม "มวลสาร" ที่ดูง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
ความเหี่ยวในเนื้อ คราบความนวลในร่อง รักที่ฝังในเนื้อ มวลสารที่มน จุดแพร่กระจายของตังอิ้ว มน เหี่ยว ฉ่ำ หลากหลาย ละเอียด เนียน สม่ำเสมอ
เวลาใครถามเรื่องพระล้างมา ดูมวลสาร จบเลย
มีปัญหาย่อมมีโอกาสเสมอ งั้นสรุปเลยครับ
พระไม่ล้างมีปัญหาอะไร ต้องแก้ไขยังไง
พระล้างมาหนัก มีปัญหาอะไร แก้ยังไง
ตอบสั้นๆ พระเดิมๆก็ดูคราบ ล้างมาก็ดูมวลสาร
ล้างพอดีก็ดูทั้งสองอย่าง เท่านี้เอง
เพราะพระเดิมๆ มองไม่เห็นเนื้อ ต้องดูคราบอย่างเดียว แต่พระล้างไม่มีคราบให้ดู ดูเนื้ออย่างเดียว
ถ้าวัดระฆังก็ดูรัก นี่คือปัญหาของพระตลาดล่าง ไม่เยอะไปก็น้อยไป พอดีๆ ไม่เหลือครับ
ตอนนี้เราเรียนสองห้องพร้อมกันนะครับ ใครคิดว่าห้องไหนยากไปก็จะช่วยย้ายไปห้องที่ง่ายกว่าครับ โดยเฉพาะท่านที่ชอบนั่งหลังห้อง กำลังพิจารณาครับ ถ้าไปห้องง่ายแล้วยังนั่งหลังห้องอีก ก็ออกนอกห้องไปเลย
ยินตีต้อนรับนักเรียนทุกชั้น ทุกระดับทุกประเภทครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
วันนี้จึงคัดแยกกลุ่มมือใหม่ออกไปแล้ว การเรียนทั้งสองกลุ่มพร้อมๆกันน่าจะเข้มข้นขึ้นนะครับ
การสอนควบคู่กันนั้นยังอยู่ที่เนื้อผง แต่ก็มีคำถามของกลุ่ม 1 ไปทางเนื้อดินบ้าง
จุดเน้นคือ เนื้อผง ในประเด็นพระแท้ดูยาก แต่ก็มีรายละเอียดมากเกินไป จึงต้องเปิดประเด็น "ดูยาก" ไหนดีครับ โดยกลับมาคิดว่า พระดูยากเพราะอะไรครับ ทำไมพระเหล่านั้น จึงมาถึงเรา แล้วเราจะหยิบได้อย่างไร
สุดท้ายก็ตัดสินใจมาเริ่มที่พระล้าง............ว่า........... พระล้างดูยากยังไงครับ
ที่ต้องกลับไปถามว่า เขาล้างอะไร ระดับไหนบ้าง ที่สำคัญ "ล้างทำไม" ถ้าไม่ล้างจะดีกว่าไหม
คนที่เอาพระไปล้างอาจคิดแบบเด็กๆ เห็นว่าดำมากมองแทบไม่เห็นรายละเอียด แถมดูสกปรก เลยขัดซะเลี่ยม ดูสะอาดเห็นรายละเอียดมากขึ้น แต่ ถ้าไม่ล้างคงดูดี บอกความเก่าได้ดีกว่าและเป็นธรรมชาติกว่าด้วย
แล้วถ้าไม่ล้างเลยละครับ
จะดูยากหรือดูง่าย
ตกลงเอาไง ชอบแบบไหน ล้างหรือไม่ล้าง
งั้นเริ่มที่ไม่ล้าง ดูยากอย่างไรครับ
พระไม่ล้างจะมองดูเนื้อ ดูมวลสารยาก เพราะโดนคราบกรุคราบหิ้งบังเนื้อไว้ เซียนที่ดูความเก่าไม่เป็นเลยปล่อยผ่าน
ความนวลกับคราบแป้งโปะ ความฉ่ำกับคราบกาวโปะ จะแยกกันอย่างไร ความเหี่ยวดูยากมากๆ เพราะมองไม่เห็นเนื้อ จะดูอย่างไรครับ
ความเหี่ยวดูยากมากๆ เพราะมองไม่เห็นเนื้อ จะดูอย่างไรครับ
เรากำลังคุยเรื่องพระดูยากเพราะยังไม่ล้างครับ
ความนวลกับคราบแป้งโปะ ความฉ่ำกับคราบกาวโปะ จะแยกกันอย่างไร
ความนวลกับความฉ่ำต้องมีที่มาที่ไป เป็นระบบ
ชั้นของคราบแต่ละชนิดแต่ละชั้นเกี่ยวเนื่องต่อกัน
เกิดคราบแป้งจุดนี้ แล้วมีคราบหิ้งมาทับ เมื่อถึงระยะเวลาหนึ่งหากรูตราบแป้งยังไม่อุดตันอุณหภูมิและความชื้นก็จะทำปฏิกิริยาให้มีคราบแป้งขึ้นทับซ้อน
แป้งโปะจะมีบางส่วนตกลงไปในรู อุดอยู่เต็มรู ต่างจากความนวลที่ออกมาจากรูแล้วไหลไปบนพื้นที่ต่ำใกล้รู
ความฉ่ำละครับ ต่างจากคราบโปะอย่างไร ความฉ่ำคือการงอกของปูนดิบและตังอิ๊ว ทับซ้อนบนก้อนปูนดิบเดิมทีละเม็ด คราบโปะทีละก้อน ความฉ่ำจะอยู่บนสันบนส่วนที่สูง และตามสันของรอยแตกรอยแยกในส่วนที่ต่ำ คราบโปะจะเลอะๆ กระจัดกระจายไม่เป็นระบบ
จุดฟันธงของการงอกยังต้องดู "หลากอายุ" หลากสี คราบโปะ สีเดียว อายุเดียว
สรุป พระยังไม่ล้างจะดูเนื้อยาก แต่ดูคราบง่าย คราบโปะมองเห็นขอบฐาน การงอกมองเห็นแค่ยอด ฐานโดนคราบอื่นคลุม
งั้นกลับมาอีกมุม พระล้าง ดูยากยังไง ก่อนอื่น ล้างมีกี่แบบ กี่ระดับ ล้างรักเป็นข้อแรก ล้างคราบกรุบางขุนพรหม สุดท้ายล้างคราบปูนงอกออกครับ เหลือแต่เนื้อเดิมๆ ที่ว่าดูยากจริงๆ
พระล้างระดับไหนดูง่ายที่สุดครับ หรือ ถามใหม่ดีกว่า พระล้างแล้วจะเสียสภาพอะไรบ้าง
พระล้างใหม่ๆ ดูยากทุกองค์ เพราะอะไร
ข้อ 1 ปูนสุกไม่มี ก็เหมือนพลาสติกเลย ข้อนี้มีข้อแก้ไขสองทาง
1. ดูความเหี่ยวของผิว
2. ดูความนวลในซอกลึกๆ ถ้าเป็นวัดระฆัง ดูรักที่ยังฝังในเนื้อ
ที่ดูยากจริงๆ ก็พระที่ล้างตัวเอง "แก่ปูนสุก" ร่อนออกจนดูยังกับพระล้างมาหนัก แต่ที่ยืนยันว่าไม่ได้ล้างก็คือคราบตั้งอิ้วที่เหลือ
มาถึงคำถามครับ พระล้างมาหนักๆ จะดูอย่างไร
ข้อสังเกตพระล้างมาหนักมาก มีจุดฟันธงอะไรบ้าง
พระล้างจะพรุนทั้งองค์เลยครับ เหมือนพระเก๊ปูนปลาสเตอร์เลยครับ
แต่อย่ามองข้าม "มวลสาร" ที่ดูง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
ความเหี่ยวในเนื้อ คราบความนวลในร่อง รักที่ฝังในเนื้อ มวลสารที่มน จุดแพร่กระจายของตังอิ้ว มน เหี่ยว ฉ่ำ หลากหลาย ละเอียด เนียน สม่ำเสมอ
เวลาใครถามเรื่องพระล้างมา ดูมวลสาร จบเลย
มีปัญหาย่อมมีโอกาสเสมอ งั้นสรุปเลยครับ
พระไม่ล้างมีปัญหาอะไร ต้องแก้ไขยังไง
พระล้างมาหนัก มีปัญหาอะไร แก้ยังไง
ตอบสั้นๆ พระเดิมๆก็ดูคราบ ล้างมาก็ดูมวลสาร
ล้างพอดีก็ดูทั้งสองอย่าง เท่านี้เอง
เพราะพระเดิมๆ มองไม่เห็นเนื้อ ต้องดูคราบอย่างเดียว แต่พระล้างไม่มีคราบให้ดู ดูเนื้ออย่างเดียว
ถ้าวัดระฆังก็ดูรัก นี่คือปัญหาของพระตลาดล่าง ไม่เยอะไปก็น้อยไป พอดีๆ ไม่เหลือครับ
ตอนนี้เราเรียนสองห้องพร้อมกันนะครับ ใครคิดว่าห้องไหนยากไปก็จะช่วยย้ายไปห้องที่ง่ายกว่าครับ โดยเฉพาะท่านที่ชอบนั่งหลังห้อง กำลังพิจารณาครับ ถ้าไปห้องง่ายแล้วยังนั่งหลังห้องอีก ก็ออกนอกห้องไปเลย
ยินตีต้อนรับนักเรียนทุกชั้น ทุกระดับทุกประเภทครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน กลุ่มทางไลน์ การดูพระแท้ 12 กรกฎาคม 2557
เมื่อวานนี้ผมมีเพื่อนนักเรียนมาเยี่ยมที่บ้าน และผมก็มีเรื่องต้องทำที่นา ก็เลยไม่ว่างที่จะคุยทางไลน์
ก็ได้ คุณณัฐวุฒิช่วยดูแลกลุ่มตลอดทั้งวัน ซึ่งก็ขอขอบคุณมากๆ
ประมาณสักสี่ทุ่ม ผมก็เริ่มว่างพอที่จะคุย เริ่มจากในกลุ่ม 1 ที่มีการนำพระเก๊ตาเปล่ามาเรียน ที่ก็เป็นเรื่องง่ายๆ
โดยเฉพาะการแยกแป้งโปะออกจากผงปูนสุก กาวใสๆออกจากเม็ดปูนดิบ+ตังอิ้ว วนไปวนมาประมาณนี้
ในกลุ่ม 2 ก็เน้นการดูพระแท้ดูยากต่อจากเมื่อคืน ก็คือ พระเนื้อผงที่มีจุดอื่นๆอีก นอกจากเรื่องการล้าง
ก็มีอ่อนแก่ส่วนผสม เช่น แก่ปูนสุก ทั้งแบบที่ลงรักมา และไม่ลงรัก หลักการจะกลับกันนิดหนึ่ง
แก่ตังอิ้วก็ดูยากพอๆกัน พระกร่อนก็ดูยาก เพราะพระเหล่านี้มีเก๊ไล่ตามมาติดๆ
หลักการฟันธง ก็ดูที่มวลสาร หรือเม็ดทราย ก็ยังจมอยู่ดี เพราะปูนดิบงอกขึ้นมาทับไว้คล้ายเป็นเปลือกแข็งหุ้มเอาไว้
แก่ปูนสุกร่วน แก่ปูนดิบยังมีแก่ตังอิ้วกับอ่อนตังอิ้ว อ่อนตังอิ้วจะปริรานมากหน่อย มีหลายดีกรีของความแก่ และยังมีปัจจัยอื่นๆประกอบอีก
แก่ปูนสุก อ่อนตังอิ้ว อ่อนปูนสุก ก็อีกแบบ
ถ้าเราแยกประเภทเนื้อของพระสมเด็จตามสัดส่วนขององค์ประกอบหลัก คือ ปูนสุก ปูนดิบและตังอิ๊ว ตามความอ่อนแก่ของแต่ละวัสดุ(สัดส่วนของปริมาณ) เราจะได้พระสมเด็จที่มีเนื้อต่างกันหลายแบบ
และถ้าแต่ละแบบแตกต่างไปตามสภาพการใช้ การเก็บ หรือการลงรัก ก็จะมีพระสมเด็จที่แตกต่างกันมากเป็นทวีคูณ
ยิ่งพิจารณาด้านการกระจายตัวของพระ การที่เราจะได้เจอพระสมเด็จที่มีลักษณะทางกายภาพเหมือนกัน จึงมีโอกาสน้อยมาก
เราไม่สามารถคาดหวังว่าจะเจอแบบไหนมาก เพราะ random โดยธรรมชาติ ที่แน่ๆ "ดูยาก" และ ไม่เคยเห็น เป็นส่วนใหญ่ นี่คือสิ่งที่เราต้องเตรียมตัวให้พร้อม เราจึงจะเจอ ไม่เตรียมตัว ไม่จับหลัก ไม่มีวันเจอครับ และคำนี้ผมไม่ได้ล้อเล่นเลยละครับ
คนที่มาแบบ "เพ้อฝัน" ไม่จับหลัก ไม่พัฒนาทักษะ ภายใต้หลัก "สามพลัง" คงต้องรอ "วาสนา" อย่างเดียวละครับ
การรอวาสนา ก็ไม่รู่กี่ชาติ อิอิอิอิอิอิอิ สู้ "ความมานะ" (ภาษาโลก) ไม่ได้แน่นอน
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
ก็ได้ คุณณัฐวุฒิช่วยดูแลกลุ่มตลอดทั้งวัน ซึ่งก็ขอขอบคุณมากๆ
ประมาณสักสี่ทุ่ม ผมก็เริ่มว่างพอที่จะคุย เริ่มจากในกลุ่ม 1 ที่มีการนำพระเก๊ตาเปล่ามาเรียน ที่ก็เป็นเรื่องง่ายๆ
โดยเฉพาะการแยกแป้งโปะออกจากผงปูนสุก กาวใสๆออกจากเม็ดปูนดิบ+ตังอิ้ว วนไปวนมาประมาณนี้
ในกลุ่ม 2 ก็เน้นการดูพระแท้ดูยากต่อจากเมื่อคืน ก็คือ พระเนื้อผงที่มีจุดอื่นๆอีก นอกจากเรื่องการล้าง
ก็มีอ่อนแก่ส่วนผสม เช่น แก่ปูนสุก ทั้งแบบที่ลงรักมา และไม่ลงรัก หลักการจะกลับกันนิดหนึ่ง
แก่ตังอิ้วก็ดูยากพอๆกัน พระกร่อนก็ดูยาก เพราะพระเหล่านี้มีเก๊ไล่ตามมาติดๆ
หลักการฟันธง ก็ดูที่มวลสาร หรือเม็ดทราย ก็ยังจมอยู่ดี เพราะปูนดิบงอกขึ้นมาทับไว้คล้ายเป็นเปลือกแข็งหุ้มเอาไว้
แก่ปูนสุกร่วน แก่ปูนดิบยังมีแก่ตังอิ้วกับอ่อนตังอิ้ว อ่อนตังอิ้วจะปริรานมากหน่อย มีหลายดีกรีของความแก่ และยังมีปัจจัยอื่นๆประกอบอีก
แก่ปูนสุก อ่อนตังอิ้ว อ่อนปูนสุก ก็อีกแบบ
ถ้าเราแยกประเภทเนื้อของพระสมเด็จตามสัดส่วนขององค์ประกอบหลัก คือ ปูนสุก ปูนดิบและตังอิ๊ว ตามความอ่อนแก่ของแต่ละวัสดุ(สัดส่วนของปริมาณ) เราจะได้พระสมเด็จที่มีเนื้อต่างกันหลายแบบ
และถ้าแต่ละแบบแตกต่างไปตามสภาพการใช้ การเก็บ หรือการลงรัก ก็จะมีพระสมเด็จที่แตกต่างกันมากเป็นทวีคูณ
ยิ่งพิจารณาด้านการกระจายตัวของพระ การที่เราจะได้เจอพระสมเด็จที่มีลักษณะทางกายภาพเหมือนกัน จึงมีโอกาสน้อยมาก
เราไม่สามารถคาดหวังว่าจะเจอแบบไหนมาก เพราะ random โดยธรรมชาติ ที่แน่ๆ "ดูยาก" และ ไม่เคยเห็น เป็นส่วนใหญ่ นี่คือสิ่งที่เราต้องเตรียมตัวให้พร้อม เราจึงจะเจอ ไม่เตรียมตัว ไม่จับหลัก ไม่มีวันเจอครับ และคำนี้ผมไม่ได้ล้อเล่นเลยละครับ
คนที่มาแบบ "เพ้อฝัน" ไม่จับหลัก ไม่พัฒนาทักษะ ภายใต้หลัก "สามพลัง" คงต้องรอ "วาสนา" อย่างเดียวละครับ
การรอวาสนา ก็ไม่รู่กี่ชาติ อิอิอิอิอิอิอิ สู้ "ความมานะ" (ภาษาโลก) ไม่ได้แน่นอน
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สรุปบทเรียน กลุ่ม การดูพระแท้ ทางไลน์ 13 กรกฎาคม 2557
เมื่อวานการสอนเริ่มตั้งแต่ผมเสร็จจากงานที่นาตอนเย็นๆ โดยเรียนควบคู่กันไปทั้งสองกลุ่ม
กลุ่มที่หนึ่ง มือใหม่เน้นเทคนิค และวัสดุการเรียน
กลุ่มที่สอง กลุ่มที่มีพระแท้ และพอดูเป็นบ้างแล้ว เน้นการดูพระแท้ดูยาก จากความหลากหลายของพระที่เป็นจริง ที่แตกต่างจากพระที่คนบางกลุ่มยกขึ้นมาเป็นพุทธพานิช ที่ทำให้หายาก และมีราคาแพงมาก ที่เราต้องหลบมาหาตามหลักการที่จะหาได้ง่ายกว่า
ประเด็นใหญ่ ที่ผมสงสัยก็คือ ผมอยากทราบว่าทำไมยังแยกเก๊แท้กันไม่ได้ ตัวอย่างชัดๆมีให้ดู อยากเห็นของจริงก็มาที่บ้านได้ครับ หรือจะให้ไปสอนถึงที่ก็จัดกลุ่มมาได้
หลักการผมก็พยายามทำให้ง่ายที่สุดในทุกด้านแล้ว ถ้าท่านยังไม่บอกว่าติดตรงไหนผมก็หาทางช่วยได้ยากมากครับ
การส่องเนื้อผงก็ใช้หลัก 3+2 ดูทีละข้อ วนไปวนมาสักสองสามรอบ อย่ามักง่าย อย่าด่วนสรุป ตั้งอิ้ว คือน้ำมันที่ขึ้นคู่กับปูนดิบ จะแพร่กระจายเป็นฟิล์ม
การส่องเนื้อดินก็ดูเนื้อทั้ง 8 ชั้น ครบแล้วค่อยหยิบ อย่างน้อยเกินครึ่งก็ยังดี ไม่ถึงครึ่งหรือไม่ครบอย่าไปลุ้นให้เสียเวลา ส่วนใหญ่พระเก๊อยู่แล้ว
การส่องพระเนื้อชินก็ดูผิว 3 ชั้น คือ รัก สนิมใต้และบนรัก มีครบสามชั้นก็แท้ ไม่ครบก็วาง เท่านั้นเอง
คนที่พลาดเพราะเล็งผลเลิศ หวังฟลุคมากเกินไป
การเริ่มที่พระเก่าๆตามตำรา ที่เก๊เพียบ หยิบมาพันองค์ยังไม่ฟลุคเลยครับ
แต่พระใหม่ๆ ไม่เกินร้อยองค์ก็ฟลุคได้ แล้วเราก็เริ่มเรียนจากความฟลุคนั้นได้อย่างรวดเร็ว พอพระเก่าๆฟลุคยาก เลยเริ่มไม่ได้สักที
ในกรณีพระเนื้อผง ผมจึงหันมาเรียนจากเปลือกหอยง่ายกว่า ไม่รอฟลุค
มีคนส่งรูปเปลือกหอยมาให้ดู ถามว่าใช้ได้ไหม ผมเลยตอบว่า ได้หรือไม่ อยู่ที่ตาท่าน
ถ้ามองเห็นหลัก 3+2 ก็ใช้ได้ ถ้ามองไม่เห็นก็ใช้ไม่ได้ โดยต้องลองถ่ายภาพชัดๆ ถ้าถ่ายภาพมามัวๆ ใครก็ช่วยท่านไม่ได้ เน้นหลัก 3+2 ให้เต็มจอเลย ถ่ายหลายๆจุดด้วย แล้วส่งมาดูกัน ทั้งนี้เพราะ เปลือกหอยหาง่ายและดูง่ายกว่าเยอะ วัดระฆัง 118 ปีก็ยังดูยากกว่าเปลือกหอย
การถ่ายภาพเบลอร์ ๆ ไป ท่านมองไม่เห็นจากภาพหรอกครับ ดูของจริงเลย ลองส่องดูเองเห็นอย่างที่ผมถ่ายให้ดูเป็นตัวอย่าง แต่ท่านไม่ถ่ายภาพให้ผม เพราะไปใช้กล้องมือถือ ของเด็กเล่น ผมก็เลยช่วยท่านไม่ได้มากกว่านี้
ถ้าไม่กล้าลงทุนซื้อกล้องสักสี่ห้าพันบาท ก็ไม่ควรเข้ามาวงการนี้ครับ อันตราย
การใช้กล้องถ่ายรูปช่วยตัดสินได้ดีมากครับ กล้องมือถือแพงขนาดไหนก็มาตายที่ขนาดเลนส์ ใช้ถ่ายเล่นๆได้เท่านั้น
กล้องมือถือ ใช้ได้แค่ระดับเก๊ตาเปล่าเท่านั้น พอพระระดับฝีมือ หลงเลยครับ
แม้เปลือกหอยน่าจะดี แต่การถ่ายรูปยังใช้ไม่ได้ ก็จะยังเรียนยาก
ในกลุ่มสอง ผมเน้นการชี้ให้เข้าใจหลักการดูเนื้อผง “แสนล้านเนื้อ” อยู่ในหลักข้อที่ 8 เทคนิคการอ่านเนื้อ พระเนื้อผง นี่ยังไม่รวมความแตกต่างของเปลือกหอยที่นำมาใช้นะครับ
ด้วยปัจจัย 11 ประการ คือ
1. ระดับปูนสุก 2. ระดับปูนดิบ 3. ระดับตังอิ้ว 4. ความหยาบละเอียดของการบดมวลสาร 5. ความชื้นของพระขณะกดพิมพ์ 6. ความหนาของเนื้อ 7. การลงรักแบบต่างๆ 8. สภาพความชื้นแวดล้อมที่พระอยู่ 9. สภาพการใช้บ่อย/ไม่บ่อย 10. การล้าง/ไม่ล้างพระ 11. การใส่ตลับ
ผมบอกหลักการนี้มาตั้งนานแล้ว ไม่มีใครสนใจเรื่องนี้ คงคิดว่าผมพูดเล่นมั้งครับ
มิใช่ว่าเปลือกหอยทุกชิ้นจะเป็น "ครู" ให้เราได้นะครับ แต่ต้องถ่ายรูปชัดๆมาเลย
ถ้าไม่ชัดมีสองทางเลือก โยนเปลือกหอยทิ้ง หรือโยนกล้องทิ้ง นี่ ผมไม่ได้พูดเล่นนะครับ
เพราะกล้องที่ถ่ายภาพไม่ชัด ย่อมไม่มีประโยชน์ในงานนี้
บางคนอยากเล่นพระ แต่ก็ดันทุรังใช้กล้องมือถือ แล้วก็เล่นแต่พระเก๊ คุ้มตรงไหนครับ
ผมบอกใครก็ไม่มีใครเชื่อ ว่ากล้องสำคัญ ช่วยเราดูภาพฟันธงได้ชัดๆ สื่อสารได้ชัดๆ
รูปเม็ดพระธาตุก็คงไม่มีใครเห็น
หรือถ่ายบ่อน้ำตางอกใหม่ก็คงไม่เห็น
เห็นดังนี้แล้วจึงมั่นใจว่าพระแท้แน่นอน ใครจะว่ายังไงก็ไม่คลอนแคลน
ถ้ากล้องไม่ดี ผมคงพลาดไปหลายองค์ ทั้งตีเก๊พระแท้ และคิดว่าพระเก๊เป็นพระแท้ และการเรียนรู้คงช้า เพราะดูภาพไม่ชัดพอ ใช้ฟังชั่น มาโคร 1 ซม ใช้มือจับปรับแสง จะดีที่สุด
คุยหลุดไปเรื่องกล้องตั้งนานเลย
ทั้งๆที่ ผมกำลังจะเปิดเรื่อง แสนล้านเนื้อ แค่ความเป็นไปได้เท่านั้น และพระที่เราจะเจอ ก็มักจะอยู่ "ชายขอบ" ทั้งนั้นครับ คือพระที่เซียนไม่ปั่น เพราะอาจจะไม่สวย หรือเขาไม่มี บางเนื้ออาจจะไม่มีอยู่จริง เพราะคนทำไม่น่าจะพลาดขนาดนั้น ดังนั้นเราต้องจินตนาการตามหลักการ และตัวอย่างนำทาง
คำว่า ดูยาก ในกรณีนี้ก็คือ ไม่เคยเห็นมาก่อน
บางทีได้มาจากการหยิบแบบ "มั่ว" มาคัดเอาภายหลัง เช่นองค์ที่ ไม่มีรัก มีแต่ฝุ่นหิ้งรอบองค์ทุกซอก
มีคำถามว่า พระปูนน่าจะมีน้ำหนักมากกว่าพระพลาสติกนะครับ หยิบชินแล้วจะรู้
มือใหม่ก็จะยากหน่อย บางๆ แต่หนัก เหมือนแผ่นหิน
น้ำหนักต่างกันสามเท่าครับ ตามหลักทางเคมี
แต่ถ้าดูน้ำหนัก และมวลสารประกอบ ก็จะช่วยได้มากครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกประเภท ทุกระดับ ทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
กลุ่มที่หนึ่ง มือใหม่เน้นเทคนิค และวัสดุการเรียน
กลุ่มที่สอง กลุ่มที่มีพระแท้ และพอดูเป็นบ้างแล้ว เน้นการดูพระแท้ดูยาก จากความหลากหลายของพระที่เป็นจริง ที่แตกต่างจากพระที่คนบางกลุ่มยกขึ้นมาเป็นพุทธพานิช ที่ทำให้หายาก และมีราคาแพงมาก ที่เราต้องหลบมาหาตามหลักการที่จะหาได้ง่ายกว่า
ประเด็นใหญ่ ที่ผมสงสัยก็คือ ผมอยากทราบว่าทำไมยังแยกเก๊แท้กันไม่ได้ ตัวอย่างชัดๆมีให้ดู อยากเห็นของจริงก็มาที่บ้านได้ครับ หรือจะให้ไปสอนถึงที่ก็จัดกลุ่มมาได้
หลักการผมก็พยายามทำให้ง่ายที่สุดในทุกด้านแล้ว ถ้าท่านยังไม่บอกว่าติดตรงไหนผมก็หาทางช่วยได้ยากมากครับ
การส่องเนื้อผงก็ใช้หลัก 3+2 ดูทีละข้อ วนไปวนมาสักสองสามรอบ อย่ามักง่าย อย่าด่วนสรุป ตั้งอิ้ว คือน้ำมันที่ขึ้นคู่กับปูนดิบ จะแพร่กระจายเป็นฟิล์ม
การส่องเนื้อดินก็ดูเนื้อทั้ง 8 ชั้น ครบแล้วค่อยหยิบ อย่างน้อยเกินครึ่งก็ยังดี ไม่ถึงครึ่งหรือไม่ครบอย่าไปลุ้นให้เสียเวลา ส่วนใหญ่พระเก๊อยู่แล้ว
การส่องพระเนื้อชินก็ดูผิว 3 ชั้น คือ รัก สนิมใต้และบนรัก มีครบสามชั้นก็แท้ ไม่ครบก็วาง เท่านั้นเอง
คนที่พลาดเพราะเล็งผลเลิศ หวังฟลุคมากเกินไป
การเริ่มที่พระเก่าๆตามตำรา ที่เก๊เพียบ หยิบมาพันองค์ยังไม่ฟลุคเลยครับ
แต่พระใหม่ๆ ไม่เกินร้อยองค์ก็ฟลุคได้ แล้วเราก็เริ่มเรียนจากความฟลุคนั้นได้อย่างรวดเร็ว พอพระเก่าๆฟลุคยาก เลยเริ่มไม่ได้สักที
ในกรณีพระเนื้อผง ผมจึงหันมาเรียนจากเปลือกหอยง่ายกว่า ไม่รอฟลุค
มีคนส่งรูปเปลือกหอยมาให้ดู ถามว่าใช้ได้ไหม ผมเลยตอบว่า ได้หรือไม่ อยู่ที่ตาท่าน
ถ้ามองเห็นหลัก 3+2 ก็ใช้ได้ ถ้ามองไม่เห็นก็ใช้ไม่ได้ โดยต้องลองถ่ายภาพชัดๆ ถ้าถ่ายภาพมามัวๆ ใครก็ช่วยท่านไม่ได้ เน้นหลัก 3+2 ให้เต็มจอเลย ถ่ายหลายๆจุดด้วย แล้วส่งมาดูกัน ทั้งนี้เพราะ เปลือกหอยหาง่ายและดูง่ายกว่าเยอะ วัดระฆัง 118 ปีก็ยังดูยากกว่าเปลือกหอย
การถ่ายภาพเบลอร์ ๆ ไป ท่านมองไม่เห็นจากภาพหรอกครับ ดูของจริงเลย ลองส่องดูเองเห็นอย่างที่ผมถ่ายให้ดูเป็นตัวอย่าง แต่ท่านไม่ถ่ายภาพให้ผม เพราะไปใช้กล้องมือถือ ของเด็กเล่น ผมก็เลยช่วยท่านไม่ได้มากกว่านี้
ถ้าไม่กล้าลงทุนซื้อกล้องสักสี่ห้าพันบาท ก็ไม่ควรเข้ามาวงการนี้ครับ อันตราย
การใช้กล้องถ่ายรูปช่วยตัดสินได้ดีมากครับ กล้องมือถือแพงขนาดไหนก็มาตายที่ขนาดเลนส์ ใช้ถ่ายเล่นๆได้เท่านั้น
กล้องมือถือ ใช้ได้แค่ระดับเก๊ตาเปล่าเท่านั้น พอพระระดับฝีมือ หลงเลยครับ
แม้เปลือกหอยน่าจะดี แต่การถ่ายรูปยังใช้ไม่ได้ ก็จะยังเรียนยาก
ในกลุ่มสอง ผมเน้นการชี้ให้เข้าใจหลักการดูเนื้อผง “แสนล้านเนื้อ” อยู่ในหลักข้อที่ 8 เทคนิคการอ่านเนื้อ พระเนื้อผง นี่ยังไม่รวมความแตกต่างของเปลือกหอยที่นำมาใช้นะครับ
ด้วยปัจจัย 11 ประการ คือ
1. ระดับปูนสุก 2. ระดับปูนดิบ 3. ระดับตังอิ้ว 4. ความหยาบละเอียดของการบดมวลสาร 5. ความชื้นของพระขณะกดพิมพ์ 6. ความหนาของเนื้อ 7. การลงรักแบบต่างๆ 8. สภาพความชื้นแวดล้อมที่พระอยู่ 9. สภาพการใช้บ่อย/ไม่บ่อย 10. การล้าง/ไม่ล้างพระ 11. การใส่ตลับ
ผมบอกหลักการนี้มาตั้งนานแล้ว ไม่มีใครสนใจเรื่องนี้ คงคิดว่าผมพูดเล่นมั้งครับ
มิใช่ว่าเปลือกหอยทุกชิ้นจะเป็น "ครู" ให้เราได้นะครับ แต่ต้องถ่ายรูปชัดๆมาเลย
ถ้าไม่ชัดมีสองทางเลือก โยนเปลือกหอยทิ้ง หรือโยนกล้องทิ้ง นี่ ผมไม่ได้พูดเล่นนะครับ
เพราะกล้องที่ถ่ายภาพไม่ชัด ย่อมไม่มีประโยชน์ในงานนี้
บางคนอยากเล่นพระ แต่ก็ดันทุรังใช้กล้องมือถือ แล้วก็เล่นแต่พระเก๊ คุ้มตรงไหนครับ
ผมบอกใครก็ไม่มีใครเชื่อ ว่ากล้องสำคัญ ช่วยเราดูภาพฟันธงได้ชัดๆ สื่อสารได้ชัดๆ
รูปเม็ดพระธาตุก็คงไม่มีใครเห็น
หรือถ่ายบ่อน้ำตางอกใหม่ก็คงไม่เห็น
เห็นดังนี้แล้วจึงมั่นใจว่าพระแท้แน่นอน ใครจะว่ายังไงก็ไม่คลอนแคลน
ถ้ากล้องไม่ดี ผมคงพลาดไปหลายองค์ ทั้งตีเก๊พระแท้ และคิดว่าพระเก๊เป็นพระแท้ และการเรียนรู้คงช้า เพราะดูภาพไม่ชัดพอ ใช้ฟังชั่น มาโคร 1 ซม ใช้มือจับปรับแสง จะดีที่สุด
คุยหลุดไปเรื่องกล้องตั้งนานเลย
ทั้งๆที่ ผมกำลังจะเปิดเรื่อง แสนล้านเนื้อ แค่ความเป็นไปได้เท่านั้น และพระที่เราจะเจอ ก็มักจะอยู่ "ชายขอบ" ทั้งนั้นครับ คือพระที่เซียนไม่ปั่น เพราะอาจจะไม่สวย หรือเขาไม่มี บางเนื้ออาจจะไม่มีอยู่จริง เพราะคนทำไม่น่าจะพลาดขนาดนั้น ดังนั้นเราต้องจินตนาการตามหลักการ และตัวอย่างนำทาง
คำว่า ดูยาก ในกรณีนี้ก็คือ ไม่เคยเห็นมาก่อน
บางทีได้มาจากการหยิบแบบ "มั่ว" มาคัดเอาภายหลัง เช่นองค์ที่ ไม่มีรัก มีแต่ฝุ่นหิ้งรอบองค์ทุกซอก
มีคำถามว่า พระปูนน่าจะมีน้ำหนักมากกว่าพระพลาสติกนะครับ หยิบชินแล้วจะรู้
มือใหม่ก็จะยากหน่อย บางๆ แต่หนัก เหมือนแผ่นหิน
น้ำหนักต่างกันสามเท่าครับ ตามหลักทางเคมี
แต่ถ้าดูน้ำหนัก และมวลสารประกอบ ก็จะช่วยได้มากครับ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกประเภท ทุกระดับ ทุกท่านครับ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)